กระทู้ธรรม ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์ ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
เวลา ๐๙.๐๐ น.
ไม่ควรทำบาปเพราะเห็นแก่กิน.
(นัย.) ขุ.ชา.นวก.
๒๙/๒๖๒.
-------------------- |
|
แต่งอธิบายให้สมเหตุสมผล อ้างสุภาษิตอื่นมาประกอบด้วย ๑ ข้อ และบอกชื่อคัมภีร์ที่มาแห่งสุภาษิตนั้นด้วย สุภาษิตที่อ้างมานั้น ต้องเรียงเชื่อมความให้ติดต่อสมเรื่องกับกระทู้ตั้ง. |
ชั้นนี้
กำหนดให้เขียนลงในใบตอบ ตั้งแต่ ๒ หน้า (เว้นบรรทัด) ขึ้นไป
|
-------------------- |
ให้เวลา ๓ ชั่วโมง
|
ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์ ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
เวลา ๑๓.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑. ธรรมอะไร ทำให้เป็นคนรอบคอบ ?
ก. สติ สัมปชัญญะ ข. หิริ โอตตัปปะ
ค. ขันติ โสรัจจะ ง. วิจารณญาณ
คำตอบ : ก
๒. ขาดธรรมอะไร แม้มีชีวิตอยู่ก็ชื่อว่าตาย ?
ก. สติ ข. สัมปชัญญะ
ค. หิริ ง. โอตตัปปะ
คำตอบ : ก
๓. คนเช่นไร ไตร่ตรองทุกสิ่งที่ทำ ทุกคำที่พูด ทุกสิ่งที่คิด ?
ก. คนช่างคิด ข. คนเจ้าปัญญา
ค. คนไม่ประมาท ง. คนไม่ทำชั่ว
คำตอบ : ค
๔. คนขาดธรรมอะไร ทำชั่วได้ทุกอย่าง ?
ก. สติ สัมปชัญญะ ข. หิริ โอตตัปปะ
ค. ขันติ โสรัจจะ ง. กตัญญู กตเวที
คำตอบ : ข
๕. ทำดีมักกลัว ทำชั่วมักกล้า เพราะขาดหลักธรรมอะไร ?
ก. กตัญญู กตเวที ข. ขันติ โสรัจจะ
ค. สติ สัมปชัญญะ ง. หิริ โอตตัปปะ
คำตอบ : ง
๖. งามนอกดึงดูดตา งามในดึงดูดจิต ตรงกับหลักธรรมข้อใด ?
ก. หิริ โอตตัปปะ ข. ขันติ โสรัจจะ
ค. สติ สัมปชัญญะ ง. กตัญญู กตเวที
คำตอบ : ข
๗. อดกลั้นความยากลำบากและอำนาจกิเลสได้ ชื่อว่ามีธรรมข้อใด ?
ก. หิริ ข. โอตตัปปะ
ค. ขันติ ง. โสรัจจะ
คำตอบ : ค
๘. เพราะเหตุไร มารดาบิดา จึงจัดเป็นบุคคลที่หาได้ยากในโลก ?
ก. เพราะไม่เห็นแก่ตัว ข. เพราะให้มากกว่ารับ
ค. เพราะไม่หวังตอบแทน ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๙. คนเรามักลืมบุญคุณคนง่ายๆ พระพุทธศาสนาจึงสอนเรื่องใดไว้ ?
ก. ความกตัญญู ข. ความมีเมตตา
ค. ความซื่อสัตย์ ง. ความเสียสละ
คำตอบ : ก
๑๐. หาความดีใส่หัวลูก ดีกว่าหาเงินใส่กระเป๋าลูก สอนอะไร ?
ก. รักลูกเหนือสิ่งใด ข. รักลูกให้ถูกทาง
ค. รักลูกอย่าตามใจ ง. รักวัวให้ผูกรักลูกให้ตี
คำตอบ : ข
๑๑. พระแก้วมรกตที่พึ่งทางใจของคนไทย ตรงกับพระรัตนตรัยใด ?
ก. พระพุทธเจ้า ข. พระธรรม
ค. พระสงฆ์ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ก
๑๒. นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส นอบน้อมใคร ?
ก. พระพุทธเจ้า ข. พระธรรม
ค. พระสงฆ์ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ก
๑๓. หน้าที่หลักของพระสงฆ์ คืออะไร ?
ก. เรียน ปฏิบัติ ธุดงค์ ข. เรียน ปฏิบัติ
สอน
ค. เรียน สอน สวดมนต์ ง. ปฏิบัติ สอน ทำพิธี
คำตอบ : ข
๑๔. ผู้ใด ชื่อว่าปฏิบัติตามโอวาทของพระพุทธเจ้า ๓ ข้อ ?
ก. คนมีสติ ข. คนมีปัญญา
ค. คนมีความรู้ ง. คนมีความคิด
คำตอบ : ก
๑๕. โอวาทของพระพุทธเจ้าข้อว่า ไม่ทำความชั่ว ตรงกับข้อใด ?
ก. ศีล ข. สมาธิ
ค. ปัญญา ง. ไตรสิกขา
คำตอบ : ก
๑๖. ทำอย่างไร ถึงจะไม่ตกไปในที่ชั่ว ?
ก. ปฏิบัติตามกฎหมาย ข. ปฏิบัติตามครูสอน
ค. ปฏิบัติตามใจตน ง. ปฏิบัติตามธรรม
คำตอบ : ง
๑๗. ข้อใด จัดเป็นกายทุจริต ?
ก. สั่งให้ฆ่า ข. สั่งให้ซื้อเสียง
ค. สั่งให้สอบประวัติ ง. สั่งให้สร้างสถานการณ์
คำตอบ : ก
๑๘. การพูดสร้างสถานการณ์ ให้คนเข้าใจผิด จัดเป็นทุจริตอะไร ?
ก. กายทุจริต ข. วจีทุจริต
ค. มโนทุจริต ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ข
๑๙. สำนวนว่า ยุแยงตะแคงรั่ว ตรงกับข้อใด ?
ก. พูดเท็จ ข. พูดคำหยาบ
ค. พูดส่อเสียด ง. พูดเพ้อเจ้อ
คำตอบ : ค
๒๐. คนประเภทใด ทำสังคมให้เกิดความแตกแยก ?
ก. คนพูดให้ทะเลาะกัน ข. คนปั้นน้ำเป็นตัว
ค. คนพูดกลับไปกลับมา ง. คนไม่มีวาจาสัตย์
คำตอบ : ก
๒๑. ทำอย่างไร คำพูดของคนพาลจึงจะไร้ค่า ?
ก. อย่าใส่ใจ ข. พิจารณาเหมือนลมพัด
ค. เก็บไว้ในใจ ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
คำตอบ : ง
๒๒. พลั้งปากเสียศีล พลั้งตีนตกต้นไม้ เป็นทุจริตอะไร ?
ก. กายทุจริต ข. วจีทุจริต
ค. มโนทุจริต ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ข
๒๓. ผู้ไม่คิดร้ายทำลายคนอื่นให้เดือดร้อน ชื่อว่าประพฤติสุจริตใด ?
ก. กายสุจริต ข. วจีสุจริต
ค. มโนสุจริต ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ค
๒๔. ข้อใด ไม่ใช่ลักษณะของความหลงงมงาย ?
ก. เชื่อผู้รู้ใกล้ตัว ข. เชื่อเหตุผล
ค. เชื่อเรื่องเปลี่ยนชื่อ ง. เชื่อมั่นตัวเอง
คำตอบ : ข
๒๕. ข้อใด เป็นมูลเหตุของการคอรัปชั่น ?
ก. โลภะ ข. โทสะ
ค. โมหะ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ก
๒๖. ข้อใด ช่วยลดความเห็นแก่ตัว ?
ก. รู้จักพอเพียง ข. ไม่ยึดมั่นถือมั่น
ค. คิดถึงอกเขาอกเรา ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๒๗. อย่างไร ชื่อว่าไม่รอกินบุญเก่า ?
ก. เก็บสมบัติไว้มากๆ ข. ส่งลูกเรียนสูงๆ
ค. หมั่นบริจาค ง. เป็นพลเมืองดี
คำตอบ : ค
๒๘. การทำบุญข้อใด ลงทุนน้อย แต่กลับได้บุญมาก ?
ก. ทานมัย ข. สีลมัย
ค. ภาวนามัย ง. ข้อ ข. และ ค. ถูก
คำตอบ : ง
๒๙. ข้อใด ไม่ใช่ภาวนามัย ?
ก. แผ่เมตตา ข. ปล่อยสัตว์
ค. ไหว้พระสวดมนต์ ง. ตั้งใจฟังเทศน์
คำตอบ : ข
๓๐. การทำบุญบริจาคทาน จัดเข้าในบุญกิริยาวัตถุข้อใด ?
ก. ทานมัย ข. สีลมัย
ค. ภาวนามัย ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ก
๓๑. ข้อใด เป็นเหตุแห่งความเจริญ ?
ก. คบสัตบุรุษ ข. ฟังและตรองตามท่าน
ค. ปฏิบัติตามธรรม ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๓๒. แข่งเรือแข่งพายพอแข่งได้ แข่งบุญวาสนาแข่งกันไม่ได้ ตรงกับ
ธรรมข้อใด ?
ก. คบหาสัตบุรุษ ข. ได้ทำบุญไว้ปางก่อน
ค. ตั้งตนไว้ชอบ ง. อยู่ในประเทศสมควร
คำตอบ : ข
๓๓. ข้อใด ตรงกับอัตตสัมมาปณิธิ ตั้งตนไว้ชอบ ?
ก. สร้างบุญใหม่ ข. กินบุญเก่า
ค. คอยเฝ้าขอพร ง. อ้อนวอนเทวดา
คำตอบ : ก
๓๔. จะรักษาความเป็นกลางและยุติธรรม ต้องเว้นอะไร ?
ก. อกุศล ข. อบายมุข
ค. อคติ ง. อนันตริยกรรม
คำตอบ : ค
๓๕. คนนี้ไม่ถูกชะตาฉันเลย ตรงกับอคติข้อใด ?
ก. ฉันทาคติ ข. โทสาคติ
ค. โมหาคติ ง. ภยาคติ
คำตอบ : ข
๓๖. ปธาน คือความเพียร ๔ อย่าง คือมรรค ๘ ข้อใด ?
ก. สัมมาทิฏฐิ ข. สัมมาสังกัปปะ
ค. สัมมาวาจา ง. สัมมาวายามะ
คำตอบ : ง
๓๗. ซื่อสัตย์ ตรงไปตรงมา เป็นอธิษฐานธรรมข้อใด ?
ก. ปัญญา ข. สัจจะ
ค. จาคะ ง. อุปสมะ
คำตอบ : ข
๓๘. จะบรรลุจุดประสงค์ซึ่งไม่เหลือวิสัยได้ ด้วยธรรมอะไร ?
ก. วุฑฒิ ๔ ข. จักร ๔
ค. อิทธิบาท ๔ ง. ปธาน ๔
คำตอบ : ค
๓๙. พรหมวิหารข้อใด ควรแผ่ไปยังสัตว์ทั้งปวง ?
ก. เมตตา ข. กรุณา
ค. มุทิตา ง. อุเบกขา
คำตอบ : ก
๔๐. ข้อใด มีความหมายตรงกับคำว่า กรุณา ?
ก. ปรารถนาให้มีความสุข ข. ปรารถนาให้พ้นจากทุกข์
ค. พลอยชื่นชมยินดีด้วย ง. วางตัวเฉยเป็นกลางๆ
คำตอบ : ข
๔๑. ปรารถนาสิ่งใด ไม่ได้สมหวัง จัดเป็นอริยสัจข้อใด ?
ก. ทุกข์ ข. สมุทัย
ค. นิโรธ ง. มรรค
คำตอบ : ก
๔๒. ข้อใด เป็นอานิสงส์แห่งการฟังธรรม ?
ก. ได้ฟังเรื่องใหม่ ข. บรรเทาความสงสัย
ค. มีความเห็นถูกต้อง ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๔๓. รู้จักจับจ่ายใช้สอยเก็บหอมรอมริบ เป็นสัปปุริสธรรมข้อใด ?
ก. รู้จักเหตุ ข. รู้จักผล
ค. รู้จักตน ง. รู้จักประมาณ
คำตอบ : ง
๔๔. ใจป้ำ คำดี มีกิจเห็น เป็นกันเอง ตรงกับหลักธรรมข้อใด ?
ก. สังคหวัตถุ ข. ฆราวาสธรรม
ค. อริยสัจ ง. อิทธิบาท
คำตอบ : ก
๔๕. กินใช้อย่างพอเพียง ไม่ฟุ้งเฟ้อนัก ไม่ให้ฝืดเคืองนัก คือข้อใด ?
ก. อุฏฐานสัมปทา ข. อารักขสัมปทา
ค. กัลยาณมิตตตา ง. สมชีวิตา
คำตอบ : ง
๔๖. คนที่ใช้จ่ายเกินตัวเรียกว่า ติดลบ เพราะขาดธรรมข้อใด ?
ก. อุฏฐานสัมปทา ข. อารักขสัมปทา
ค. กัลยาณมิตตตา ง. สมชีวิตา
คำตอบ : ง
๔๗. ข้อใด เป็นความหมายของปิยวาจา ?
ก. พูดหวานปานจะกลืน ข. พูดไพเราะก่อสามัคคี
ค. พูดแทงใจดำ ง. พูดตรงไปตรงมา
คำตอบ : ข
๔๘. รู้จักปลง ปล่อยวาง ทำจิตให้ผ่องใส ไม่ขุ่นมัว ตรงกับข้อใด ?
ก. สัจจะ ข. ทมะ
ค. ขันติ ง. จาคะ
คำตอบ : ง
๔๙. ให้ความเคารพ เชื่อฟัง ช่วยเหลือ เรียนศิลปวิทยาโดยเคารพ คือ
หน้าที่ของใคร ?
ก. บุตรธิดา ข. ศิษย์
ค. ครูอาจารย์ ง. มารดาบิดา
คำตอบ : ข
๕๐. ข้อใด คืออบายมุข เหตุเครื่องฉิบหาย ?
ก. ดื่มน้ำเมา เสพสิ่งเสพติด ข. เที่ยวเตร่ ไม่ทำงาน
ค. เล่นการพนัน คบคนชั่ว ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
*** ***
***
เฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์
ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
๑. |
ก |
๑๑. |
ก |
๒๑. |
ง |
๓๑. |
ง |
๔๑. |
ก |
๒. |
ก |
๑๒. |
ก |
๒๒. |
ข |
๓๒. |
ข |
๔๒. |
ง |
๓. |
ค |
๑๓. |
ข |
๒๓. |
ค |
๓๓. |
ก |
๔๓. |
ง |
๔. |
ข |
๑๔. |
ก |
๒๔. |
ข |
๓๔. |
ค |
๔๔. |
ก |
๕. |
ง |
๑๕. |
ก |
๒๕. |
ก |
๓๕. |
ข |
๔๕. |
ง |
๖. |
ข |
๑๖. |
ง |
๒๖. |
ง |
๓๖. |
ง |
๔๖. |
ง |
๗. |
ค |
๑๗. |
ก |
๒๗. |
ค |
๓๗. |
ข |
๔๗. |
ข |
๘. |
ง |
๑๘. |
ข |
๒๘. |
ง |
๓๘. |
ค |
๔๘. |
ง |
๙. |
ก |
๑๙. |
ค |
๒๙. |
ข |
๓๙. |
ก |
๔๙. |
ข |
๑๐. |
ข |
๒๐. |
ก |
๓๐. |
ก |
๔๐. |
ข |
๕๐. |
ง |
ปัญหาและเฉลยวิชาพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์ ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
เวลา ๑๔.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑. เรียนพุทธประวัติทำให้ทราบความเป็นไปของใคร ?
ก. พระพุทธเจ้า ข. พระสาวก
ค. บริษัท ๔ ง. สหธรรมิก ๕
คำตอบ : ก
๒. ประโยชน์ในการเรียนรู้พุทธประวัติ คือข้อใด ?
ก. ได้แนวทางปฏิบัติ ข. ได้ทราบเรื่องราว
ค. ได้ความเพลิดเพลิน ง. ได้ทราบวัฒนธรรม
คำตอบ : ก
๓. สาเหตุหลักที่ทำให้พวกอริยกะเจริญกว่าพวกมิลักขะ คืออะไร ?
ก. การรบ ข. การเศรษฐกิจ
ค. การศึกษา ง. เผ่าพันธุ์
คำตอบ : ค
๔. นครที่ได้นามว่ากบิลพัสดุ์ เพราะเหตุใด ?
ก. ที่อยู่ของปัญจวัคคีย์ ข. ที่ตั้งของสักกชนบท
ค. ที่อยู่ของกาฬเทวิลดาบส ง. ที่อยู่ของกบิลดาบส
คำตอบ : ง
๕. พระโคตรของพระมหาบุรุษ มีความหมายเนื่องมาจากสิ่งใด ?
ก. ภูเขาหิมาลัย ข. ดงไม้สักกะ
ค. พระอาทิตย์ ง. พระจันทร์
คำตอบ : ค
๖. พระเจ้าสุทโธทนะ เป็นอะไรกับเจ้าชายสิทธัตถะ ?
ก. พระเจ้าปู่ ข. พระเจ้าตา
ค. พระบิดา ง. พระเจ้าอา
คำตอบ : ค
๗. การถวายพระนามเจ้าชายสิทธัตถะ เมื่อประสูติได้กี่วัน ?
ก. ๓ วัน ข. ๕ วัน
ค. ๗ วัน ง. ๙ วัน
คำตอบ : ข
๘. ผู้ใด ได้กราบพระบาทของเจ้าชายสิทธัตถะก่อนผู้อื่น ?
ก. อาฬารดาบส ข. อุททกดาบส
ค. อสิตดาบส ง. กัสสปดาบส
คำตอบ : ค
๙. ครูคนแรกของเจ้าชาย
ก. วิศวามิตร ข. อุททกดาบส
ค. อสิตดาบส ง. อาฬารดาบส
คำตอบ : ก
๑๐. พระมารดาสิ้นพระชนม์ เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะประสูติได้กี่วัน ?
ก. ๓ วัน ข. ๕ วัน
ค. ๗ วัน ง. ๑๕ วัน
คำตอบ : ค
๑๑. ผู้ใด เลี้ยงเจ้าชายสิทธัตถะ หลังจากพระมารดาสิ้นพระชนม์ ?
ก. พระนางปมิตา ข. พระนางอมิตา
ค. พระนางกัญจนา ง. พระนางปชาบดี
คำตอบ : ง
๑๒. เจ้าชายสิทธัตถะ เจริญสมาธิใต้ต้นหว้าในงานมงคลใด ?
ก. แต่งงาน ข. แรกนาขวัญ
ค. ฉลองปราสาท ง. ขึ้นปีใหม่
คำตอบ : ข
๑๓. ข้อใด ไม่จัดอยู่ในเทวทูต ๔ ?
ก. คนเกิด ข. คนแก่
ค. คนเจ็บ ง. คนตาย
คำตอบ : ก
๑๔. ผู้ใด ถวายบริขารแก่เจ้าชายสิทธัตถะ เมื่อเสด็จออกผนวช ?
ก. ท้าวมหาพรหม ข. สหัมบดีพรหม
ค. ฆฏิการพรหม ง. พระอินทร์
คำตอบ : ค
๑๕. พระมหาบุรุษได้แบบอย่างการบำเพ็ญทุกรกิริยาจากใคร ?
ก. ปัญจวัคคีย์ ข. อาฬารดาบส
ค. อุทกดาบส ง. นักบวชสมัยนั้น
คำตอบ : ง
๑๖. พระมหาบุรุษทรงเลิกบำเพ็ญทุกรกิริยา เพราะเหตุใด ?
ก. ไม่ได้ผลที่มุ่งหมาย ข. ไม่ใช่ทางตรัสรู้
ค. เห็นทางตรัสรู้ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๑๗. ใครเป็นผู้ถวายข้าวมธุปายาสแก่พระมหาบุรุษ ?
ก. นางสุชาดา ข. นางวิสาขา
ค. พระนางปชาบดี ง. พระนางอมิตา
คำตอบ : ก
๑๘. มารที่พระมหาบุรุษทรงเอาชนะได้ในคราวตรัสรู้ ได้แก่อะไร ?
ก. กิเลส ข. มารจริงๆ
ค. เจ้าลัทธิอื่น ง. เทวดามิจฉาทิฏฐิ
คำตอบ : ก
๑๙. กามสุขัลลิกานุโยค คืออะไร ?
ก. ทรมานตน ข. เป็นผู้มักมาก
ค. พัวพันในกาม ง. ทำตนให้ลำบาก
คำตอบ : ค
๒๐. ญาณใด เป็นเหตุให้สิ้นอาสวะในวันตรัสรู้ ?
ก. ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ข. จุตูปปาตญาณ
ค. อาสวักขยญาณ ง. ทิพพจักขุญาณ
คำตอบ : ค
๒๑. พระยามารปราชัยต่อพระมหาบุรุษ เพราะธรรมอะไร ?
ก. อริยสัจ ๔ ข. อิทธิบาท ๔
ค. พละ ๕ ง. บารมี ๑๐
คำตอบ : ง
๒๒. ความหมายของพระนามว่า อรหํ ตรงกับข้อใด ?
ก. ผู้บริสุทธิ์จากกิเลส ข. ผู้ตรัสรู้ชอบเอง
ค. ผู้มีโชค ง. ผู้รู้ ผู้ตื่น
ผู้เบิกบาน
คำตอบ : ก
๒๓. พระพุทธเจ้าทรงตั้งพระทัย จะแสดงธรรมแก่ใครเป็นคนแรก ?
ก. พระบิดา ข. ปัญจวัคคีย์
ค. อสิตดาบส ง. อาฬารดาบส
คำตอบ : ง
๒๔. พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมครั้งแรก ชื่อว่าอะไร ?
ก. อาทิตตปริยายสูตร ข. เวทนาปริคคหสูตร
ค. ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ง. อนัตตลักขณสูตร
คำตอบ : ค
๒๕. ทางสายกลาง คืออะไร ?
ก. มรรคมีองค์ ๘ ข. วิชชา ๘
ค. อริยบุคคล ๘ ง. สมาบัติ ๘
คำตอบ : ก
๒๖. ปฐมสาวกในพระพุทธศาสนา คือใคร ?
ก. พระสารีบุตร ข.พระโกณฑัญญะ
ค. พระมหานามะ ง. พระอัสสชิ
คำตอบ : ข
๒๗. ขันธ์ ๕ เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เป็นใจความสำคัญ
ของพระสูตรใด ?
ก. ธัมมจักกัปปวัตนสูตร ข. อนัตตลักขณสูตร
ค. อาทิตตปริยายสูตร ง. เวทนาปริคคหสูตร
คำตอบ : ข
๒๘. อุบาสกคนแรกผู้ถึงพระรัตนตรัย คือใคร ?
ก. ตปุสสะ ข. ภัลลิกะ
ค. บิดาของยสะ ง. อุปกาชีวก
คำตอบ : ค
๒๙. ชฎิล ๓ พี่น้องพร้อมบริวารบรรลุพระอรหัต เพราะฟังธรรมใด ?
ก. ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ข. อนัตตลักขณสูตร
ค. อาทิตตปริยายสูตร ง. เวทนาปริคคหสูตร
คำตอบ : ค
๓๐. วัดเวฬุวันที่พระเจ้าพิมพิสารถวาย มีลักษณะอย่างไร ?
ก. มีเสนาสนะครบถ้วน ข. มีป่าไผ่และเสนาสนะ
ค. มีเฉพาะป่าไผ่ ง. มีต้นตาลและป่าไผ่
คำตอบ : ค
๓๑. อุปติสสะได้ดวงตาเห็นธรรม เพราะฟังธรรมจากใคร ?
ก. พระโกณฑัญญะ ข. พระอัสสชิ
ค. พระภัททิยะ ง. พระมหานามะ
คำตอบ : ข
๓๒. พระสารีบุตรสิ้นอาสวะ ขณะพระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมแก่ใคร ?
ก. พระอุรุเวลกัสสปะ ข. พระโมคคัลลานะ
ค. ทีฆนขปริพาชก ง. สัญชัยปริพาชก
คำตอบ : ค
๓๓. พระสารีบุตรมีวัตรปฏิบัติอะไร ที่ควรถือเป็นแบบอย่าง ?
ก. มีวาจาสัตย์ ข. มีความกตัญญู
ค. มีความเคารพอาจารย์ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๓๔. โกลิตะได้ดวงตาเห็นธรรม เพราะฟังธรรมจากใคร ?
ก. พระพุทธเจ้า ข. พระอัสสชิ
ค. อุปติสสะ ง. สัญชัยปริพาชก
คำตอบ : ค
๓๕. ผู้ถวายบิณฑบาตครั้งสุดท้าย คือใคร ?
ก. อนาถปิณฑิกะ ข. วิสาขา
ค. สุชาดา ง. จุนทะ
คำตอบ : ง
๓๖. เมื่อปรินิพพานแล้ว จัดพุทธสรีระตามแบบไหน ?
ก. พระเจ้าจักรพรรดิ ข. พระราชา
ค. พราหมณ์ ง. สามัญชน
คำตอบ : ก
๓๗. ใครเป็นสาวกองค์สุดท้ายของพระพุทธเจ้า ?
ก. พระฉันนะ ข. พระกาฬุทายี
ค. พระภัททิยะ ง. พระสุภัททะ
คำตอบ : ง
๓๘. ก่อนเสด็จปรินิพพาน พระองค์ตั้งใครเป็นศาสดาแทน ?
ก. พระอานนท์ ข. พระมหากัสสปะ
ค. พระไตรปิฏก ง. พระธรรมวินัย
คำตอบ : ง
๓๙. โอวาทครั้งสุดท้าย มีใจความสำคัญว่าด้วยเรื่องอะไร ?
ก. ความไม่ประมาท ข. ความตาย
ค. ความเพียร ง. ความสามัคคี
คำตอบ : ก
๔๐. ใจความสำคัญในสุนทรพจน์ของโทณพราหมณ์ คืออะไร ?
ก. ให้มีความสามัคคีกัน ข. ให้มีเมตตาต่อกัน
ค. ให้มีความเที่ยงธรรม ง. ให้มีทศพิธราชธรรม
คำตอบ : ก
ศาสนพิธี
๔๑. ผู้นับถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นของเรา ตรงกับข้อใด ?
ก. อุบาสก ข. อุบาสิกา
ค. พุทธมามกะ ง. ศาสนิก
คำตอบ : ค
๔๒. การเวียนเทียนในวันวิสาขบูชา จัดเข้าในพิธีใด ?
ก. กุศลพิธี ข. บุญพิธี
ค. ทานพิธี ง. พิธีเบ็ดเตล็ด
คำตอบ : ก
๔๓. วันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ ตรงกับวันอะไร ?
ก. วันมาฆบูชา ข. วันวิสาขบูชา
ค. วันอัฏฐมีบูชา ง. วันอาสาฬหบูชา
คำตอบ : ง
๔๔. ข้อใด ไม่ใช่วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ?
ก. วันมาฆบูชา ข. วันวิสาขบูชา
ค. วันอัฏฐมีบูชา ง. วันสงกรานต์
คำตอบ : ง
๔๕. งานอวมงคล ได้แก่งานเช่นใด ?
ก. งานแต่งงาน ข. งานโกนจุก
ค. งานขึ้นบ้านใหม่ ง. งานศพ
คำตอบ : ง
๔๖. ปาฏิบุคลิกทาน หมายถึงทานประเภทใด ?
ก. ถวายไม่เจาะจง ข. ถวายเจาะจง
ค. ถวายพระทั่วไป ง. ถวายสังฆทาน
คำตอบ : ข
๔๗. ผ้าที่มีกำหนดเวลาในการถวาย คือข้อใด ?
ก. ผ้าป่า ข. ผ้านิสีทนะ
ค. ผ้ากฐิน ง. ผ้าบังสุกุล
คำตอบ : ค
๔๘. เบญจางคประดิษฐ์ หมายถึงการกราบเช่นไร ?
ก. กราบครบองค์ ๕ ข. กราบครบองค์ ๘
ค. กราบ ๕ ครั้ง ง. กราบ ๓ ครั้ง
คำตอบ : ก
๔๙. พระสงฆ์สาธยายมนต์ ในงานมงคลใช้คำว่าอะไร ?
ก. เจริญพระพุทธมนต์ ข. สวดพระพุทธมนต์
ค. แสดงพระธรรมเทศนา ง. สวดพระปริตร
คำตอบ : ก
๕๐. สิ่งใด ไม่ต้องจัดเตรียมไว้ในงานอวมงคล ?
ก. พระพุทธรูป ข. ขันน้ำมนต์
ค. ผ้าภูษาโยง ง. ที่กรวดน้ำ
คำตอบ : ข
*** ***
***
เฉลยวิชาพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์
ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
๑. |
ก |
๑๑. |
ง |
๒๑. |
ง |
๓๑. |
ข |
๔๑. |
ค |
๒. |
ก |
๑๒. |
ข |
๒๒. |
ก |
๓๒. |
ค |
๔๒. |
ก |
๓. |
ค |
๑๓. |
ก |
๒๓. |
ง |
๓๓. |
ง |
๔๓. |
ง |
๔. |
ง |
๑๔. |
ค |
๒๔. |
ค |
๓๔. |
ค |
๔๔. |
ง |
๕. |
ค |
๑๕. |
ง |
๒๕. |
ก |
๓๕. |
ง |
๔๕. |
ง |
๖. |
ค |
๑๖. |
ง |
๒๖. |
ข |
๓๖. |
ก |
๔๖. |
ข |
๗. |
ข |
๑๗. |
ก |
๒๗. |
ข |
๓๗. |
ง |
๔๗. |
ค |
๘. |
ค |
๑๘. |
ก |
๒๘. |
ค |
๓๘. |
ง |
๔๘. |
ก |
๙. |
ก |
๑๙. |
ค |
๒๙. |
ค |
๓๙. |
ก |
๔๙. |
ก |
๑๐. |
ค |
๒๐. |
ค |
๓๐. |
ค |
๔๐. |
ก |
๕๐. |
ข |
ปัญหาและเฉลยวิชาเบญจศีล-เบญจธรรม ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์ ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
เวลา ๑๕.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑. คุณธรรมอะไร เป็นเครื่องป้องกันความชั่วทางกายวาจา ?
ก. ทาน ข. ศีล
ค. สมาธิ ง. ปัญญา
คำตอบ : ข
๒. คุณธรรมอะไร ทำให้คนเป็นคนที่สมบูรณ์ ?
ก. ศีล ๕ ข. อิทธิบาท ๔
ค. โอวาท ๓ ง. โลกธรรม ๘
คำตอบ : ก
๓. คำว่า สัตว์มีชีวิต ในศีลข้อปาณาติบาต ตรงกับข้อใด ?
ก. มนุษย์ ข. สัตว์ปีก
ค. มด แมลง ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๔. อาชีพใด รักษาศีลข้อปาณาติบาตได้ยาก ?
ก. ฆ่าสัตว์ ข. ค้ามนุษย์
ค. ขายเหล้า ง. ขายบุหรี่
คำตอบ : ก
๕. การเลี้ยงเสือไว้ในกรง เป็นการทรมานสัตว์ลักษณะใด ?
ก. เล่นสนุก ข. ใช้การ
ค. ผจญสัตว์ ง. กักขัง
คำตอบ : ง
๖. การกระทำใด ไม่ใช่การทำร้ายร่างกาย ?
ก. ทำให้พิการ ข. ทำการผ่าตัด
ค. ทำให้เสียโฉม ง. ทำให้บาดเจ็บ
คำตอบ : ข
๗. ข้อใด ไม่ใช่การรักษาศีลข้ออทินนาทาน ?
ก. หากินทุจริต ข. หากินสุจริต
ค. ไม่เห็นแก่ได้ ง. รู้จักแบ่งปัน
คำตอบ : ก
๘. การซ่อนสิ่งของหลบหนีภาษี จัดเข้าในโจรกรรมใด ?
ก. เบียดบัง ข. สับเปลี่ยน
ค. ลักลอบ ง. ยักยอก
คำตอบ : ค
๙. การถือเอาสิ่งของคนอื่น มิได้บอกให้เจ้าของรู้ ตรงกับข้อใด ?
ก. หลอก ข. ลวง
ค. ลักลอบ ง. หยิบฉวย
คำตอบ : ง
๑๐. การทำลายทรัพย์ผู้อื่นให้เสียหาย ชื่อว่าผลาญ ตรงกับข้อใด ?
ก. ปล้นร้านขายทอง ข. ขโมยของในห้าง
ค. รับส่วยรถบรรทุก ง. ลอบเผาโรงเรียน
คำตอบ : ง
๑๑. การละเมิดศีลข้ออทินนาทาน ส่งผลให้เกิดเป็นคนเช่นไร ?
ก. คนอายุสั้น ข. คนยากจน
ค. คนพิการ ง. คนขาดสติ
คำตอบ : ข
๑๒. กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี บัญญัติขึ้นมิให้ประพฤติผิดเรื่องใด ?
ก. นอกใจคู่ครอง ข. พูดสับปรับ
ค. ค้ายาเสพติด ง. ทุจริตที่ดิน
คำตอบ : ก
๑๓. หญิงที่เป็นวัตถุต้องห้ามของชาย ตรงกับข้อใด ?
ก. หญิงที่มารดารักษา ข. หญิงที่บิดารักษา
ค. หญิงที่สามีรักษา ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๑๔. คำพังเพยใด สนับสนุนการถือศีลข้อกาเมสุมิจฉาจาร ?
ก. ปากปราศัย ใจเชือดคอ ข. ปลูกเรือนผิดคิดจนเรือนทลาย
ค. ช้านักน้ำลง จะหมดทาง ง. มีไม้มีไร่ ก็ปลูกเรือนงาม
คำตอบ : ข
๑๕. การรักษาศีลข้อกาเมสุมิจฉาจาร ได้ชื่อว่าเว้นอบายมุขข้อใด ?
ก. เที่ยวผู้หญิง ข. เล่นการพนัน
ค. ดื่มน้ำเมา ง. เกียจคร้าน
คำตอบ : ก
๑๖. การรักษาศีลข้อกาเมสุมิจฉาจาร ช่วยลดปัญหาสังคมด้านใด ?
ก. เศรษฐกิจ ข. คนว่างงาน
ค. ละเมิดทางเพศ ง. คอรัปชั่น
คำตอบ : ค
๑๗. การขายบริการทางเพศ มีความเสียหายอย่างไร ?
ก. เสียชื่อเสียง ข. เสียนามสกุล
ค. พ่อแม่เสียใจ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๑๘. การพูดโกหกเพื่อให้คนอื่นสบายใจ ผิดศีลเพราะเหตุใด ?
ก. เพราะเรื่องที่พูดไม่เป็นเรื่องจริง ข. เพราะคิดจะพูดให้คลาดเคลื่อน
ค. เพราะผู้ฟังเข้าใจว่าเป็นเรื่องจริง ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๑๙. การพูดยุแหย่ให้คนอื่นแตกกัน จัดเป็นวจีทุจริตใด ?
ก. พูดเท็จ ข. พูดส่อเสียด
ค. พูดคำหยาบ ง. พูดเพ้อเจ้อ
คำตอบ : ข
๒๐. การพูดในเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ จัดเป็นวจีทุจริตใด ?
ก. พูดเท็จ ข. พูดส่อเสียด
ค. พูดคำหยาบ ง. พูดเพ้อเจ้อ
คำตอบ : ง
๒๑. ในนิทานอีสป โคนันทวิสาลไม่ยอมลากเกวียน เพราะคำพูดใด ?
ก. คำเท็จ ข. คำส่อเสียด
ค. คำหยาบ ง. คำเพ้อเจ้อ
คำตอบ : ค
๒๒. การรักษาศีลข้อมุสาวาท ชื่อว่าประพฤติสุจริตใด ?
ก. กายสุจริต ข. วจีสุจริต
ค. มโนสุจริต ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ข
๒๓. ศีลข้อมุสาวาท ควรประพฤติคู่กับกัลยาณธรรมข้อใด ?
ก. เมตตา กรุณา ข. สัมมาอาชีวะ
ค. สำรวมในกาม ง. ความมีสัตย์
คำตอบ : ง
๒๔. การเว้นจากการดื่มน้ำเมา ควบคุมพฤติกรรมของบุคคลด้านใด ?
ก. ขาดขันติ ข. ขาดศรัทธา
ค. ขาดสติ ง. ขาดเมตตา
คำตอบ : ค
๒๕. งดเหล้าเข้าพรรษา รณรงค์ให้ประชาชนรักษาศีลข้อใด ?
ก. ข้อที่ ๒ ข. ข้อที่ ๓
ค. ข้อที่ ๔ ง. ข้อที่ ๕
คำตอบ : ง
๒๖. ข้อใด ไม่ใช่การเว้นจากการดื่มน้ำเมา ?
ก. จน เครียด กินเหล้า ข. เลิกเหล้า เลิกจน
ค. ไม่ขับรถขณะเมาสุรา ง. ห้ามขายสุราแก่เด็ก
คำตอบ : ก
๒๗. โรคพิษสุราเรื้อรัง เกิดขึ้นเพราะไม่สำรวมระวังในอะไร ?
ก. ตา ข. หู
ค. จมูก ง. ลิ้น
คำตอบ : ง
๒๘. การละกิเลสได้อย่างเด็ดขาดของพระอริยเจ้า จัดเป็นวิรัติใด ?
ก. สัมปัตตวิรัติ ข. สมาทานวิรัติ
ค. สมุจเฉทวิรัติ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ค
๒๙. แม้สบโอกาสจะฆ่าได้ แต่ก็ไม่ฆ่า มีสติยับยั้งได้ จัดเป็นวิรัติใด ?
ก. สัมปัตตวิรัติ ข. สมาทานวิรัติ
ค. สมุจเฉทวิรัติ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ก
๓๐. ความตั้งใจในการไม่ฆ่าสัตว์ ของบุคคลผู้ถือศีล จัดเป็นวิรัติใด ?
ก. สัมปัตตวิรัติ ข. สมาทานวิรัติ
ค. สมุจเฉทวิรัติ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ข
๓๑. ข้อใด หมายถึงกัลยาณธรรม ?
ก. ธรรมมีอุปการะมาก ข. ธรรมที่คู่กับศีล ๕
ค. ธรรมทำบุคคลให้งาม ง. ธรรมคุ้มครองโลก
คำตอบ : ข
๓๒. เมื่อเราได้รับความลำบาก ใครสามารถให้ความช่วยเหลือได้ ?
ก. คนใจแคบ ข. คนใจจืด
ค. คนใจกว้าง ง. คนใจดำ
คำตอบ : ค
๓๓. ในหลวงพระราชทานสิ่งของ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วม จัดเข้า
ในคุณธรรมข้อใด ?
ก. เมตตา ข. กรุณา
ค. มุทิตา ง. อุเบกขา
คำตอบ : ข
๓๔. พ่อค้าขายเสื้อ เรารักในหลวง เกินกว่าราคาที่กำหนดไว้ ชื่อว่า
ประพฤติไม่เป็นธรรมในอะไร ?
ก. วัตถุ ข. บุคคล
ค. กิจการ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ข
๓๕. การดำเนินชีวิตตามแนวพระราชดำริ เศรษฐกิจพอเพียง อนุโลมใน
กัลยาณธรรมข้อใด ?
ก. ความมีสัตย์ ข. ความสำรวมในกาม
ค. ความมีกรุณา ง. การเลี้ยงชีวิตชอบ
คำตอบ : ง
๓๖. สามีประพฤติตนอย่างไร จึงชื่อว่าบำเพ็ญสทารสันโดษ ?
ก. สันโดษในการแสวงหา ข. สันโดษในคู่ครอง
ค. สันโดษในการบริโภค ง. สันโดษในการรับ
คำตอบ : ข
๓๗. การทำหน้าที่เป็นภรรยาที่ดีของสามี เรียกว่าอะไร ?
ก. ปติวัตร ข. วิธีวัตร
ค. จริยาวัตร ง. กิจวัตร
คำตอบ : ก
๓๘. คุณธรรมที่จะนำพาให้คู่ครองไม่แตกร้าว โดยตรงได้แก่ข้อใด ?
ก. ไม่ดื่มเหล้า ข. ไม่เจ้าชู้
ค. ไม่ทำอดสู ง. ไม่หูเบา
คำตอบ : ข
๓๙. ข้อใด ไม่จัดเข้าในความมีสัตย์ ๔ ประการ ?
ก. ความสวามิภักดิ์ ข. ความซื่อตรง
ค. ความสมานฉันท์ ง. ความกตัญญู
คำตอบ : ค
๔๐. คำว่า ทรงพระเจริญ ที่พสกนิกรชาวไทยร่วมใจกันเปล่งถวายในหลวง
ชื่อว่าประพฤติกัลยาณธรรมข้อใด ?
ก. ความสวามิภักดิ์ ข. ความกตัญญู
ค. ความเที่ยงธรรม ง. ความซื่อตรง
คำตอบ : ก
๔๑. ผู้น้อยไม่ซื่อสัตย์ ก็เสีย ผู้พูดต้องการสอนเรื่องอะไร ?
ก. ความกตัญญู ข. ความเสียสละ
ค. ความซื่อตรง ง. ความรอบคอบ
คำตอบ : ค
๔๒. เสียชีพ อย่าเสียสัตย์ ผู้พูดประสงค์คุณธรรมใด ?
ก. สัจจะ ข. ทมะ
ค. ขันติ ง. จาคะ
คำตอบ : ก
๔๓. การประพฤติตามหลักความมีสติรอบคอบ ตรงกับข้อใด ?
ก. ไม่ขับรถขณะเมา ข. ขับรถระวังคน
ค. ข้ามถนนระวังรถ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๔๔. การทำงานลักษณะใด ชื่อว่า ไม่เลินเล่อในการงาน ?
ก. ไม่ขวนขวาย ข. ไม่ทอดธุระ
ค. ไม่รับผิดชอบ ง. ไม่ตรงเวลา
คำตอบ : ข
๔๕. ในมหาเวสสันดรชาดก กล่าวว่า ชูชกท้องแตกตาย เพราะขาดความ
พอดีในเรื่องใด ?
ก. อายุสังขาร ข. อาหาร
ค. ความตาย ง. อารมณ์
คำตอบ : ข
๔๖. คนตระหนี่เลี้ยงชีวิตแบบอดๆ อยากๆ เปรียบได้กับข้อใด
?
ก. ต้นไม้ใส่ปุ๋ย ข. ต้นไม้พรวนดิน
ค. ต้นไม้รดน้ำ ง. ต้นไม้ขาดน้ำ
คำตอบ : ง
๔๗. กัลยาณธรรมใด เป็นเครื่องพิจารณาในการใช้สอยวัตถุสิ่งของที่
ฟุ่มเฟือยทำให้ใจคนหลงลำพอง ?
ก. สติ ข. สัจจะ
ค. ฉันทะ ง. วิริยะ
คำตอบ : ก
๔๘. ความมีสติรอบคอบ เป็นอุปการะแก่ศีลข้อใด ?
ก. ปาณาติบาต ข. อทินนาทาน
ค. มุสาวาท ง. สุราเมรัย
คำตอบ : ง
๔๙. ความมีสติรอบคอบ ควบคุมอะไรมิให้ผิดพลาด ?
ก. การทำ ข. การพูด
ค. การคิด ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๕๐. การรักษาศีล ๕ บำเพ็ญกัลยาณธรรม มีผลดีต่อสังคมด้านใด ?
ก. พัฒนาคุณธรรม ข. พัฒนาจิตใจ
ค. พัฒนาเศรษฐกิจ ง. พัฒนาทุกด้าน
คำตอบ : ง
*** ***
***
เฉลยวิชาเบญจศีล-เบญจธรรม
(วินัย) ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์
ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
๑. |
ข |
๑๑. |
ข |
๒๑. |
ค |
๓๑. |
ข |
๔๑. |
ค |
๒. |
ก |
๑๒. |
ก |
๒๒. |
ข |
๓๒. |
ค |
๔๒. |
ก |
๓. |
ง |
๑๓. |
ง |
๒๓. |
ง |
๓๓. |
ข |
๔๓. |
ง |
๔. |
ก |
๑๔. |
ข |
๒๔. |
ค |
๓๔. |
ข |
๔๔. |
ข |
๕. |
ง |
๑๕. |
ก |
๒๕. |
ง |
๓๕. |
ง |
๔๕. |
ข |
๖. |
ข |
๑๖. |
ค |
๒๖. |
ก |
๓๖. |
ข |
๔๖. |
ง |
๗. |
ก |
๑๗. |
ง |
๒๗. |
ง |
๓๗. |
ก |
๔๗. |
ก |
๘. |
ค |
๑๘. |
ง |
๒๘. |
ค |
๓๘. |
ข |
๔๘. |
ง |
๙. |
ง |
๑๙. |
ข |
๒๙. |
ก |
๓๙. |
ค |
๔๙. |
ง |
๑๐. |
ง |
๒๐. |
ง |
๓๐. |
ข |
๔๐. |
ก |
๕๐. |
ง |
กระทู้ธรรม ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์ ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
เวลา ๐๙.๐๐ น.
ควรทำวันคืนไม่ให้เปล่าจากประโยชน์น้อยหรือมาก
เพราะวันคืนผ่านบุคคลใดไป ชีวิตของบุคคลนั้น
ย่อมพร่องจากประโยชน์นั้น.
( สิริมณฺฑเถร ) ขุ.เถร. ๒๖/๓๓๕.
|
แต่งอธิบายเป็นทำนองเทศนาโวหาร อ้างสุภาษิตอื่นมาประกอบไม่น้อยกว่า ๒ ข้อ และบอกชื่อคัมภีร์ที่มาแห่งสุภาษิตนั้นด้วย ห้ามอ้างสุภาษิตซ้ำข้อกันแต่จะซ้ำคัมภีร์ได้ ไม่ห้าม สุภาษิตที่อ้างมานั้น ต้องเรียงเชื่อมความให้ติดต่อสมเรื่องกับกระทู้ตั้ง. |
-------------------- |
ชั้นนี้
กำหนดให้เขียนลงในใบตอบ ตั้งแต่ ๓ หน้า (เว้นบรรทัด) ขึ้นไป
|
-------------------- |
ให้เวลา ๓ ชั่วโมง
|
ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์ ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
เวลา ๑๓.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑. ข้อใด เป็นวิธีปฏิบัติทำให้จิตผ่องใส ?
ก. ไหว้พระสวดมนต์ ข. เจริญกัมมัฏฐาน
ค. เดินจงกรม ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๒. ข้อใด เป็นผลของการเจริญกัมมัฏฐาน ?
ก. สุขภาพจิตดี ข. หลับตื่นเป็นสุข
ค. ทำงานอย่างมีสติ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๓. เมื่อกล่าวบทว่า อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ
ควรระลึกถึงอะไร ?
ก. พระพุทธคุณ ข. พระธรรมคุณ
ค. พระสังฆคุณ ง. พระรัตนตรัย
คำตอบ : ก
๔. บทว่า สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม
ควรระลึกถึงอะไร ?
ก. พระพุทธคุณ ข. พระธรรมคุณ
ค. พระสังฆคุณ ง. พระรัตนตรัย
คำตอบ : ข
๕. บทว่า สุปฏิปนฺโน ภควโต
ควรระลึกถึงอะไร ?
ก. พระพุทธคุณ ข. พระธรรมคุณ
ค. พระสังฆคุณ ง. พระรัตนตรัย
คำตอบ : ค
๖. พระสังฆรัตนะ หมายถึงพระสงฆ์ประเภทใด ?
ก. สมมุติสงฆ์ ข. อริยสงฆ์
ค. พระอรหันต์ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ข
๗. จักรู้แจ้งสรรพสิ่งตามความเป็นจริง ต้องเจริญอะไร ?
ก. กัมมัฏฐาน ข. สมถกัมมัฏฐาน
ค. วิปัสสนากัมมัฏฐาน ง. อนุสสติกัมมัฏฐาน
คำตอบ : ค
๘. รู้อย่างไร จึงเรียกว่ารู้ตามความเป็นจริง ?
ก. รู้ว่าไม่เที่ยง ข. รู้ว่าเป็นทุกข์
ค. รู้ว่าเป็นอนัตตา ง. รู้ว่าเป็นไตรลักษณ์
คำตอบ : ง
๙. กาม มีโทษโดยรวมแก่สัตว์โลกอย่างไร ?
ก. ทำให้ข้องอยู่ในโลก ข. ทำให้รบราฆ่าฟันกัน
ค. ทำให้เห็นแก่ตัว ง. ทำให้แข่งขันกันในโลก
คำตอบ : ก
๑๐. คำว่า อิจฉาริษยา มาจากคำบาลีใด ?
ก. ราคะ ข. โทสะ
ค. อิจฉา ง. อิสสา
คำตอบ : ง
๑๑. บูชาอย่างไหน พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นเลิศของการบูชา ?
ก. อามิสบูชา ข. ปฏิบัติบูชา
ค. สักการบูชา ง. ธรรมบูชา
คำตอบ : ข
๑๒. ปูชนียบุคคล
ในเรื่องบูชา ๒ หมายถึงบุคคลเช่นไร ?
ก. คนดีมีเมตตา ข. คนดีของสังคม
ค. คนที่ควรบูชายกย่อง ง. คนปฏิบัติธรรม
คำตอบ : ค
๑๓. ศิษย์ปฏิบัติต่อครูอาจารย์อย่างไร จึงเรียกว่าปฏิบัติบูชา ?
ก. จัดพิธีไหว้ครูทุกปี ข. ให้ของขวัญวันเกิด
ค. ปฏิบัติยามเจ็บไข้ ง. ปฏิบัติตามคำสอน
คำตอบ : ง
๑๔. เมื่อมีผู้มาเยือน ควรปฏิสันถารอย่างไร ?
ก. ต้อนรับให้ควรแก่ฐานะ ข. แนะนำประโยชน์ให้
ค. ถามถึงธุระที่มาเยือน ง. รู้หน้าไม่รู้ใจไม่เปิดประตู
คำตอบ : ก
๑๕. ผู้ถูกกามวิตกครอบงำ มักมีพฤติกรรมเช่นไร ?
ก. อยากได้ของคนอื่น ข. โกงเมื่อมีโอกาส
ค. เห็นแก่ตัวเห็นแก่ได้ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๑๖. จะบรรเทากามวิตกนั้น ด้วยวิธีใด ?
ก. หมั่นแผ่เมตตา ข. หมั่นบริจาค
ค. หมั่นเข้าวัด ง. หมั่นฟังธรรม
คำตอบ : ข
๑๗. ผู้ถูกพยาบาทวิตกครอบงำ มักมีพฤติกรรมเช่นไร ?
ก. ลอบยิงด้วยปืน ข. ลอบวางระเบิด
ค. ดักฆ่ากลางทาง ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๑๘. จะบรรเทาพยาบาทวิตกนั้น ด้วยวิธีใด ?
ก. แผ่เมตตา - ให้อภัย ข. แผ่กรุณา - ให้อภัย
ค. แผ่มุทิตา - ให้อภัย ง. วางอุเบกขา - ให้อภัย
คำตอบ : ก
๑๙. ปล่อยเงินกู้ คิดดอกแพง สงเคราะห์เข้าในอกุศลวิตกใด ?
ก. กามวิตก ข. พยาบาทวิตก
ค. วิหิงสาวิตก ง. ข้อ ก. และ ค. ถูก
คำตอบ : ง
๒๐. คนที่ไม่รู้จักบาปบุญคุณโทษ เพราะถูกไฟชนิดใดแผดเผา ?
ก. ไฟคือราคะ ข. ไฟคือโทสะ
ค. ไฟคือโมหะ ง. ไฟคือตัณหา
คำตอบ : ค
๒๑. คนที่มักโกรธ มักมีอารมณ์เสีย เพราะถูกไฟชนิดใดแผดเผา ?
ก. ไฟคือราคะ ข. ไฟคือโทสะ
ค. ไฟคือโมหะ ง. ไฟทั้ง ๓ ชนิด
คำตอบ : ข
๒๒. คนถูกไฟคือราคะแผดเผา มักมีพฤติกรรมเช่นไร ?
ก. ละเมิดทางเพศ ข. ยกพวกตีกัน
ค. เครียดหงุดหงิด ง. ไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์
คำตอบ : ก
๒๓. ประชาธิปไตยที่แท้จริง มุ่งประโยชน์ของใคร ?
ก. ของชาติ ข. ของประชาชน
ค. ของสังคม ง. ของพรรคการเมือง
คำตอบ : ข
๒๔. ประชาธิปไตยล้มเหลว เพราะขาดอธิปเตยยะข้อใด ?
ก. อัตตาธิปเตยยะ ข. โลกาธิปเตยยะ
ค. ธัมมาธิปเตยยะ ง. อนาธิปเตยยะ
คำตอบ : ค
๒๕. แย่งอำนาจกันครอง จัดเป็นตัณหาอะไร ?
ก. กามตัณหา ข. ภวตัณหา
ค. วิภวตัณหา ง. กิเลสตัณหา
คำตอบ : ข
๒๖. พอสมหวังเป็นสุข ไม่นานก็เป็นทุกข์ อยากได้สูงยิ่งขึ้นไปอีก จัดเป็น
ตัณหาข้อใด ?
ก. กามตัณหา ข. ภวตัณหา
ค. วิภวตัณหา ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๒๗. รักษากายไม่ให้วิปริต รักษาจิตอย่าให้วิปลาส วาจามีศีลสุขล้ำ ชื่อว่า
ปฏิบัติตามข้อใด ?
ก. วินัยปิฎก ข. สุตตันตปิฎก
ค. อภิธรรมปิฎก ง. ทั้งสามปิฎก
คำตอบ : ง
๒๘. การเล่าเรียนพระพุทธพจน์ คือพระไตรปิฎก จัดเป็นสัทธรรมใด ?
ก. ปริยัติ ข. ปฏิบัติ
ค. ปฏิเวธ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ก
๒๙. การช่วยเหลือผู้ประสบภัย สงเคราะห์เข้าในพุทธจริยาใด ?
ก. พุทธัตถจริยา ข. ญาตัตถจริยา
ค. โลกัตถจริยา ง. อัตตัตถจริยา
คำตอบ : ค
๓๐. อาการเช่นไรเรียกว่า วัฏฏะ ?
ก. การเวียนเทียน ข. การเวียนว่ายตายเกิด
ค. การแก่ เจ็บ ตาย ง. การเวียนศพรอบเมรุ
คำตอบ : ข
๓๑. ให้ทุกข์แก่ท่าน ทุกข์นั้นถึงตัว มีความหมายตรงกับวัฏฏะใด ?
ก. กิเลส ข. กรรม
ค. วิบาก ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ค
๓๒. การฝึกฝนพัฒนาในข้อใด จัดเป็นจิตตสิกขา ?
ก. รักษาจิตให้มีสิกขา ข. รักษาจิตให้อยู่ในอำนาจ
ค. รักษาจิตให้รู้แจ้งธรรม ง. รักษาจิตให้หมดตัณหา
คำตอบ : ข
๓๓. เมื่อเกิดอารมณ์โกรธผู้อื่น ควรปฏิบัติอย่างไร ?
ก. รีบไปทำกิจอื่นก่อน ข. ตั้งสติแผ่เมตตา
ค. อดกลั้นหายใจลึกๆ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๓๔. ควรปฏิบัติต่อคนที่โกรธเราอย่างไร ?
ก. อดกลั้นไม่โกรธตอบ ข. แผ่เมตตาให้เสมอ
ค. หมั่นทำดีให้ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๓๕. เมตตา ควรแผ่ให้แก่สัตว์จำพวกใด ?
ก. สัตว์ทุกจำพวก ข. สัตว์ผู้ประสบทุกข์
ค. สัตว์ผู้ประสบสุข ง. สัตว์ที่ตายแล้ว
คำตอบ : ก
๓๖. กรุณา ควรแผ่ให้แก่สัตว์จำพวกใด ?
ก. สัตว์ทุกจำพวก ข. สัตว์ผู้ประสบทุกข์
ค. สัตว์ผู้ประสบสุข ง. สัตว์ผู้ใกล้ตาย
คำตอบ : ข
๓๗. จะแก้โรคริษยาด้วยวิธีใด ?
ก. หมั่นเจริญเมตตา ข. หมั่นเจริญกรุณา
ค. หมั่นเจริญมุทิตา ง. หมั่นเจริญอุเบกขา
คำตอบ : ค
๓๘. คนมีจิตตระหนี่เห็นแก่ตัว ควรฟังอนุปุพพีกถาข้อใด ?
ก. ทานกถา ข. สีลกถา
ค. สัคคกถา ง. กามาทีนวกถา
คำตอบ : ก
๓๙. อนุปุพพีกถาข้อใด ส่งเสริมให้ไม่ฆ่าและไม่เบียดเบียนกัน ?
ก. ทานกถา ข. สีลกถา
ค. สัคคกถา ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
คำตอบ : ข
๔๐. ผู้ประกอบด้วยวัณณมัจฉริยะ มักมีพฤติกรรมเช่นไร ?
ก. เห็นแก่ตัว ข. กลัวคนอื่นจะดีกว่า
ค. ปากว่าตาขยิบ ง. ชอบมุบมิบเป็นของตัว
คำตอบ : ข
๔๑. คนสัทธาจริต มักชอบเชื่อข่าวลือ ควรแก้ด้วยวิธีใด ?
ก. ฟังหลาย ๆ ด้าน ข. คบหาบัณฑิต
ค. พิจารณาหาเหตุผล ง. หมั่นฟังเทศน์
คำตอบ : ค
๔๒. คนไม่รู้จริง ไม่วิเคราะห์ แต่ชอบวิจารณ์ จัดเป็นคนจริตอะไร ?
ก. สัทธาจริต ข. วิตกจริต
ค. พุทธิจริต ง. โมหจริต
คำตอบ : ก
๔๓. พิจารณาเห็นร่างกายไม่งาม ปฏิกูลเหมือนซากศพ ช่วยบรรเทาจริต
อะไรได้ ?
ก. ราคจริต ข. โทสจริต
ค. โมหจริต ง. วิตกจริต
คำตอบ : ก
๔๔. ผู้มีความรู้คู่คุณธรรม เก่ง ดี ไม่โกง อนุโลมตามพุทธคุณใด ?
ก. สมฺมาสมฺพุทฺโธ ข. วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน
ค. สุคโต โลกวิทู ง. สตฺถา เทวมนุสฺสานํ
คำตอบ : ข
๔๕. เมื่อพบพระสงฆ์ในที่ใด ควรทำความเคารพแล้วระลึกถึง
?
ก. พระพุทธคุณ ข. พระธรรมคุณ
ค. พระสังฆคุณ ง. ขอให้พระคุ้มครองตน
คำตอบ : ค
๔๖. ข้อใด เป็นผลของทานบารมี ?
ก. มีปัญญามาก ข. มีบริวารมาก
ค. มีอายุยืน ง. มีรูปงาม
คำตอบ : ข
๔๗. คนที่ตั้งใจแน่วแน่ จะไม่เสพสิ่งเสพติด ชื่อว่าบำเพ็ญบารมีใด ?
ก. ขันติบารมี ข. สีลบารมี
ค. อุเบกขาบารมี ง. อธิษฐานบารมี
คำตอบ : ง
๔๘. รุดไปข้างหน้า ดีกว่านั่งเต๊ะท่าอยู่กับที่ หมายถึงบารมีใด ?
ก. ปัญญาบารมี ข. วิริยบารมี
ค. สัจจบารมี ง. ขันติบารมี
คำตอบ : ข
๔๙. ผู้พลีชีพเพื่อชาติ จัดว่าบำเพ็ญบารมีใด ?
ก. ทานบารมี ข. ทานอุปบารมี
ค. ทานปรมัตถบารมี ง. เมตตาบารมี
คำตอบ : ค
๕๐. โชติ โชติปรายโน สว่างมาสว่างไป มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก. ชนกกรรม ข. อุปัตถัมภกกรรม
ค. อุปปีฬกกรรม ง. อุปฆาตกกรรม
คำตอบ : ข
*** ***
***
เฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์
ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
๑. |
ง |
๑๑. |
ข |
๒๑. |
ข |
๓๑. |
ค |
๔๑. |
ค |
๒. |
ง |
๑๒. |
ค |
๒๒. |
ก |
๓๒. |
ข |
๔๒. |
ก |
๓. |
ก |
๑๓. |
ง |
๒๓. |
ข |
๓๓. |
ง |
๔๓. |
ก |
๔. |
ข |
๑๔. |
ก |
๒๔. |
ค |
๓๔. |
ง |
๔๔. |
ข |
๕. |
ค |
๑๕. |
ง |
๒๕. |
ข |
๓๕. |
ก |
๔๕. |
ค |
๖. |
ข |
๑๖. |
ข |
๒๖. |
ง |
๓๖. |
ข |
๔๖. |
ข |
๗. |
ค |
๑๗. |
ง |
๒๗. |
ง |
๓๗. |
ค |
๔๗. |
ง |
๘. |
ง |
๑๘. |
ก |
๒๘. |
ก |
๓๘. |
ก |
๔๘. |
ข |
๙. |
ก |
๑๙. |
ง |
๒๙. |
ค |
๓๙. |
ข |
๔๙. |
ค |
๑๐. |
ง |
๒๐. |
ค |
๓๐. |
ข |
๔๐. |
ข |
๕๐. |
ข |
ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์ ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
เวลา ๑๔.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑. อนุพุทธประวัติ มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก. ประวัติผู้รู้ตาม ข. ประวัติผู้ปฏิบัติตาม
ค. ประวัติผู้บวชตาม ง. ประวัติผู้ฟังตาม
คำตอบ : ก
๒. สังฆรัตนะเกิดขึ้นในโลก เมื่อทรงแสดงธรรมใด ?
ก. อนุปุพพีกถา ข. ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
ค. อนัตตลักขณสูตร ง. อาทิตตปริยายสูตร
คำตอบ : ข
๓. ปัญจวัคคีย์ติดตามอุปัฏฐากพระมหาบุรุษ ด้วยหวังอะไร ?
ก. หวังเป็นศาสดาเอก ข. หวังเป็นพระอรหันต์
ค. หวังฟังเทศนาสอนตน ง. หวังมีชื่อเสียงบ้าง
คำตอบ : ค
๔. ปัญจวัคคีย์คิดอย่างไรต่อพระมหาบุรุษ จึงเลิกอุปัฏฐาก ?
ก. กลับมาเป็นคนมักมาก ข. ทำไม่จริง
ค. นั่นไม่ใช่ทางตรัสรู้ ง. จักกลับไปเป็นกษัตริย์
คำตอบ : ก
๕. ธรรมจักษุ ดวงตาเห็นธรรม คือข้อใด ?
ก. ทุกสิ่งมีเหตุปัจจัย ข. ทุกสิ่งมีเกิดมีดับ
ค. ทุกสิ่งว่างเปล่า ง. ทุกสิ่งเป็นสภาพสูญ
คำตอบ : ข
๖. ธรรมจักษุ
บังเกิดแก่พระอริยบุคคลชั้นไหน ?
ก. พระโสดาบัน ข. พระสกทาคามี
ค. พระอนาคามี ง. พระอรหันต์
คำตอบ : ก
๗. ใครบวชด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทารูปแรก ?
ก. พระอัสสชิ ข. พระโกณฑัญญะ
ค. พระวัปปะ ง. พระมหานามะ
คำตอบ : ข
๘. พระอริยบุคคลชั้นใด ชื่อว่า อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว ?
ก. พระโสดาบัน ข. พระสกทาคามี
ค. พระอนาคามี ง. พระอรหันต์
คำตอบ : ง
๙. พระสาวกรูปใด ก่อนบวชบำเพ็ญพรตด้วยการบูชาไฟ ?
ก. พระกุมารกัสสปะ ข. พระอุรุเวลกัสสปะ
ค. พระมหากัสสปะ ง. พระมหากัปปินะ
คำตอบ : ข
๑๐. พระอุรุเวลกัสสปะประกาศว่า ลัทธิของตนไม่มีแก่นสาร เพราะข้าราช
บริพารของพระเจ้าพิมพิสารมีอาการเช่นไร ?
ก. ไม่อ่อนน้อม ข. ไม่ตั้งใจฟังเทศนา
ค. คุยกันเสียงดัง ง. ไม่เชื่อพระพุทธเจ้า
คำตอบ : ก
๑๑. ผู้ใด เป็นตัวอย่างในเรื่องดูหนังดูละครแล้วย้อนดูตัว ?
ก. ตปุสสะ-ภัลลิกะ ข. อุปติสสะ-โกลิตะ
ค. วัปปะ-ภัททิยะ ง. มหานามะ-อัสสชิ
คำตอบ : ข
๑๒. เพราะเหตุไร คนโดยมากดูมหรสพแล้วไม่เป็นเช่นนั้น ?
ก. ญาณไม่แก่กล้า ข. ปัญญาน้อย
ค. ไม่บำเพ็ญไตรสิกขา ง. ไม่มีบารมี
คำตอบ : ก
๑๓. อุปติสสะเลื่อมใสพระอัสสชิ เพราะเห็นอะไร ?
ก. รูปร่างดี ข. บุคลิกภาพดี
ค. สำรวมระวังดี ง. เทศน์ไพเราะดี
คำตอบ : ค
๑๔. ข้อใด ไม่ใช่คำพูดของพระอัสสชิ ?
ก. เราเป็นผู้ใหม่ ข. บวชยังไม่นาน
ค. เพิ่งมาสู่ธรรมวินัยนี้ ง. อาจแสดงธรรมโดยพิสดาร
คำตอบ : ง
๑๕. ธรรมเหล่าใดมีเหตุเป็นแดนเกิด หมายถึงอะไร ?
ก. ทุกข์ ข. สมุทัย
ค. นิโรธ ง. มรรค
คำตอบ : ก
๑๖. ใครถามว่า ในโลกนี้ คนโง่มากหรือคนฉลาดมาก ?
ก. สัญชัย ข. โกลิตะ
ค. อาชีวก ง. พระเจ้าพิมพิสาร
คำตอบ : ก
๑๗. พระอัสสชิเป็นอาจารย์ของใคร ซึ่งมีชื่อเสียงในกาลต่อมา ?
ก. พระโมคคัลลานะ ข. พระสารีบุตร
ค. พระยสะ ง. พระมหานามะ
คำตอบ : ข
๑๘. พระธรรมเสนาบดี เป็นชื่อเรียกพระสาวกรูปใด ?
ก. พระโกณฑัญญะ ข. พระสารีบุตร
ค. พระโมคคัลลานะ ง. พระอานนท์
คำตอบ : ข
๑๙. ใครแสดงธรรมจักรและอริยสัจได้แม้นกับพระพุทธองค์ ?
ก. พระอุรุเวลกัสสปะ ข. พระสารีบุตร
ค. พระมหากัสสปะ ง. พระมหากัจจายนะ
คำตอบ : ข
๒๐. พระพุทธเจ้าตรัสให้ภิกษุไปลาใคร ก่อนจะจาริกไปในที่อื่น ?
ก. พระอานนท์ ข. พระโมคคัลลานะ
ค. พระกุมารกัสสปะ ง. พระสารีบุตร
คำตอบ : ง
๒๑. ก่อนนิพพานพระสารีบุตรไปโปรดมารดา เพราะเหตุใด ?
ก. มารดาไม่มีศรัทธา ข. มารดามีศรัทธา
ค. มารดานิมนต์ ง. มารดาขอบวช
คำตอบ : ก
๒๒. พระสาวกรูปใด อุปมาเหมือนมารดาผู้ให้เกิด ?
ก. พระสารีบุตร ข. พระโมคคัลลานะ
ค. พระมหากัสสปะ ง. พระมหากัจจายนะ
คำตอบ : ก
๒๓. พระพุทธเจ้าตรัสอุบายแก้ง่วง แก่พระสาวกรูปใด ?
ก. พระสารีบุตร ข. พระอุบาลี
ค. พระอานนท์ ง. พระโมคคัลลานะ
คำตอบ : ง
๒๔. คำว่า ไม่ชูงวงเข้าไปสู่สกุล หมายความว่าอะไร ?
ก. ไม่ถือตัว ข. ไม่พูดมาก
ค. ต้องสำรวม ง. ต้องเข้าไปผู้เดียว
คำตอบ : ก
๒๕. ธรรมใด ช่วยกำจัดความท้อแท้โงกง่วงได้ดีที่สุด ?
ก. ศรัทธา ข. วิริยะ
ค. สติ ง. สมาธิ
คำตอบ : ข
๒๖. พระมหากัสสปะออกบวช เพราะเห็นโทษในการครองเรือนอย่างไร ?
ก. ต้องรับผิดชอบมาก ข. ต้องคอยรับบาปคนอื่น
ค. ต้องทำแต่บาปกรรม ง. ต้องพัวพันกับเรื่องกาม
คำตอบ : ข
๒๗. ใครบวชด้วยการรับโอวาท ๓ ข้อจากพระพุทธเจ้า ?
ก. พระราหุล ข.พระเรวตะ
ค. พระมหากัจจายนะ ง. พระมหากัสสปะ
คำตอบ : ง
๒๘. ใครแสดงว่า วรรณะ ๔ เสมอกันด้วยกรรมคือการกระทำ ?
ก. พระมหากัสสปะ ข. พระมหากัจจายนะ
ค. พระโมคคัลลานะ ง. พระมหาปันถก
คำตอบ : ข
๒๙. พระสาวกรูปใด เป็นเอตทัคคะในการอธิบายความย่อให้พิสดาร ?
ก. พระมหากัสสปะ ข. พระขทิรวนิยเรวตะ
ค. พระมหากัจจายนะ ง. พระปุณณมันตานีบุตร
คำตอบ : ค
๓๐. ผู้ใดเคยเอาไฟเผาพื้นหอฉัน ต้องเป็นโรคเรื้อนถึง ๕๐๐ ชาติ ?
ก. พระโมฆราช ข. พระอชิตะ
ค. พระปิงคิยะ ง. พระเมตตคู
คำตอบ : ก
๓๑. ข้าพระองค์พิจารณาเห็นโลกอย่างไร มัจจุราชจึงจะไม่แลเห็น ใคร
ทูลถาม ?
ก. พระอชิตะ ข. พระเมตเตยยะ
ค. พระโตเทยยะ ง. พระโมฆราช
คำตอบ : ง
๓๒. ชั้นต้น พระสาวกทั้งหลายคิดอย่างไร จึงไม่ให้ราธพราหมณ์บวช ?
ก. เพราะคนแก่มักติดในลาภ ข. เพราะคนแก่เป็นภาระผู้อื่น
ค. เพราะคนแก่มักสอนยาก ง. เพราะคนแก่ปฏิบัติลำบาก
คำตอบ : ค
๓๓. สำนวนไทยว่า ไม้อ่อนดัดง่าย ไม้แก่ดัดยาก พระสาวกรูปใด
ไม่เป็นเช่นนั้น ?
ก. พระราหุล ข. พระราธะ
ค. พระฉันนะ ง. พระวังคีสะ
คำตอบ : ข
๓๔. พระสาวกรูปใด จำต้องบวชเพราะบาตรใบเดียว ?
ก. พระอานนท์ ข. พระนันทะ
ค. พระอนุรุทธะ ง. พระภัททิยะ
คำตอบ : ข
๓๕. ข้อใด ตรงกับคำว่า พึงประพฤติธรรมให้สุจริต มากที่สุด ?
ก. ประพฤติตรงไปตรงมา ข. ประพฤติแต่เรื่องดี
ค. ทำแต่บุญ ง. อบรมวิปัสสนา
คำตอบ : ก
๓๖. ข้อใด เป็นปฏิปทาของพระราหุล ?
ก. ใคร่ต่อการศึกษา ข. มักน้อย สันโดษ
ค. มุ่งประกาศศาสนา ง. กตัญญูกตเวทิตา
คำตอบ : ก
๓๗. พระสาวกรูปใด ได้รับเอตทัคคะด้านทรงพระวินัย ?
ก. พระอุบาลี ข. พระนันทะ
ค. พระอานนท์ ง. พระสิวลี
คำตอบ : ก
๓๘. พระสาวกรูปใด ได้รับเอตทัคคะด้านทิพพจักษุ ?
ก. พระราหุล ข. พระอนุรุทธะ
ค. พระอัสสชิ ง. พระภัททิยะ
คำตอบ : ข
๓๙. พระสาวกรูปใด เป็นเหมือนเงาที่ติดตามพระพุทธเจ้าไปทุกแห่ง ?
ก. พระสารีบุตร ข. พระโมคคัลลานะ
ค. พระอานนท์ ง. พระนันทะ
คำตอบ : ค
๔๐. พระสาวกรูปใด ได้รับแต่งตั้งให้เป็นพระพุทธอุปัฏฐาก ?
ก. พระราหุล ข. พระสารีบุตร
ค. พระอานนท์ ง. พระมหากัสสปะ
คำตอบ : ค
ศาสนพิธี
๔๑. สามีจิกรรม คืออะไร ?
ก. แสดงมุทิตาจิต ข. ทำวัตรสวดมนต์
ค. ขอขมาโทษต่อกัน ง. เจริญจิตภาวนา
คำตอบ : ค
๔๒. วันธรรมสวนะ หมายถึงวันอะไร ?
ก. วันสมาทานศีล ข. วันประชุมฟังธรรม
ค. วันเข้าพรรษา ง. วันเทโวโรหณะ
คำตอบ : ข
๔๓. การทำบุญ สตมวาร ให้แก่ผู้ตาย ตรงกับข้อใด ?
ก. ๗ วัน ข. ๕๐ วัน
ค. ๑๐๐ วัน ง. ๑ ปี
คำตอบ : ค
๔๔. การสวดพระอภิธรรม นิยมใช้สวดในงานอะไร ?
ก. งาน ๑๐๐ วัน ข. งานขึ้นบ้านใหม่
ค. งานศพ ง. งานทำบุญอัฐิ
คำตอบ : ค
๔๕. ทักษิณานุปทาน มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก. ทำบุญวันเกิด ข. ทำบุญอายุ
ค. ทำบุญบ้าน ง. ทำบุญอุทิศให้ผู้ตาย
คำตอบ : ง
๔๖. การเทศน์ตามกาลนิยม คืออย่างไร ?
ก. เทศน์วันธรรมสวนะ ข. เทศน์สอนประชาชน
ค. เทศน์งานศพ ง. เทศน์ปุจฉาวิสัชนา
คำตอบ : ก
๔๗. การถวายทานที่มิได้เจาะจงผู้รับ หมายถึงข้อใด ?
ก. สังฆทาน ข. ปาฏิบุคลิกทาน
ค. อภัยทาน ง. เภสัชทาน
คำตอบ : ก
๔๘. ผ้าวัสสิกสาฎก หมายถึงผ้าชนิดใด ?
ก. ผ้าไตรจีวร ข. ผ้าอาบน้ำฝน
ค. ผ้าสังฆาฏิ ง. ผ้าบังสุกุล
คำตอบ : ข
๔๙. การไหว้ครู จัดเข้าในศาสนพิธีหมวดใด ?
ก. กุศลพิธี ข. บุญพิธี
ค. ทานพิธี ง. ปกิณกพิธี
คำตอบ : ข
๕๐. ข้อใด ไม่ใช่อุโบสถศีล ?
ก. ปาณาติปาตา เวรมณี ข. อทินฺนาทานา เวรมณี
ค. อพฺรหฺมจริยา เวรมณี ง. กาเมสุมิจฺฉาจารา เวรมณี
คำตอบ : ง
*** ***
***
เฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์
ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
๑. |
ก |
๑๑. |
ข |
๒๑. |
ก |
๓๑. |
ง |
๔๑. |
ค |
๒. |
ข |
๑๒. |
ก |
๒๒. |
ก |
๓๒. |
ค |
๔๒. |
ข |
๓. |
ค |
๑๓. |
ค |
๒๓. |
ง |
๓๓. |
ข |
๔๓. |
ค |
๔. |
ก |
๑๔. |
ง |
๒๔. |
ก |
๓๔. |
ข |
๔๔. |
ค |
๕. |
ข |
๑๕. |
ก |
๒๕. |
ข |
๓๕. |
ก |
๔๕. |
ง |
๖. |
ก |
๑๖. |
ก |
๒๖. |
ข |
๓๖. |
ก |
๔๖. |
ก |
๗. |
ข |
๑๗. |
ข |
๒๗. |
ง |
๓๗. |
ก |
๔๗. |
ก |
๘. |
ง |
๑๘. |
ข |
๒๘. |
ข |
๓๘. |
ข |
๔๘. |
ข |
๙. |
ข |
๑๙. |
ข |
๒๙. |
ค |
๓๙. |
ค |
๔๙. |
ข |
๑๐. |
ก |
๒๐. |
ง |
๓๐. |
ก |
๔๐. |
ค |
๕๐. |
ง |
ปัญหาและเฉลยวิชาอุโบสถศีล (วินัย)
ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์ ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
เวลา ๑๕.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑. สามัญชนปฏิบัติตนอย่างไร จึงชื่อว่าตามรอยพระอรหันต์ ?
ก. รักษาศีลให้บริสุทธิ์ ข. รักษากายให้บริสุทธ์
ค. รักษาใจให้บริสุทธิ์ ง. รักษาวาจาให้บริสุทธิ์
คำตอบ : ก
๒. คฤหัสถ์ปรารถนาชำระตนให้หมดจด ควรปฏิบัติอย่างไร ?
ก. ไหว้พระ ข. สวดมนต์
ค. รักษาศีล ง. ชำระบาป
คำตอบ : ค
๓. ศีลที่ต้องรักษาตามกาลที่กำหนดไว้ ตรงกับข้อใด ?
ก. ศีล ๕ ข. ศีล ๘
ค. ศีล ๑๐ ง. ศีล ๒๒๗
คำตอบ : ข
๔. การรักษาศีลข้อใด เป็นความเชื่อที่ผิด ?
ก. ได้พักการงาน ข. ได้ทำบุญกุศล
ค. ได้ชำระบาป ง. ได้อบรมจิตใจ
คำตอบ : ค
๕. การถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะ หมายถึงอะไร ?
ก. การนั่งใกล้ ๆ ข. การขอโชคลาภ
ค. การปรนนิบัติ ง. การถือเป็นที่พึ่ง
คำตอบ : ง
๖. พระรัตนตรัยได้ชื่อว่าเป็นสรณะที่ปลอดภัย เพราะอะไร ?
ก. ช่วยกำจัดทุกข์ ข. ช่วยกำจัดภัย
ค. ช่วยกำจัดเวร ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๗. หากเปรียบพระพุทธเจ้าดุจสารถีผู้ชาญฉลาด พระธรรมดุจวิธีฝึกม้า
พระสงฆ์จะเปรียบเหมือนม้าเช่นไร ?
ก. ม้ากำลังฝึกเดิน ข. ม้ายังมิได้ฝึกหัด
ค. ม้ากำลังฝึกหัด ง. ม้าที่ฝึกหัดดีแล้ว
คำตอบ : ง
๘. สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ กล่าวเพื่อระลึกถึงใคร ?
ก. พระพุทธเจ้า ข. พระธรรม
ค. พระสงฆ์ ง. บิดามารดา
คำตอบ : ค
๙. ข้อใด ไม่ใช่ความหมายของพระสังฆรัตนะ ?
ก. ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ข. ช่วยกำจัดภัยให้สัตว์
ค. เป็นนาบุญของโลก ง. รักษาเผยแผ่คำสอน
คำตอบ : ข
๑๐. การขาดสรณคมน์ข้อใด จัดว่าไม่มีโทษ ?
ก. การตาย ข. การเข้ารีต
ค. การทำร้ายพระศาสดา ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ก
๑๑. การขาดสรณคมน์ เกิดขึ้นได้แก่บุคคลใด ?
ก. ปุถุชนทั่วไป ข. พระโสดาบัน
ค. พระสกทาคามี ง. พระอนาคามี
คำตอบ : ก
๑๒. ใครกราบทูลขอให้พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติอุโบสถ ?
ก. พระเจ้าสุทโธทนะ ข. พระเจ้าพิมพิสาร
ค. พระเจ้าอชาตศัตรู ง. มหาอุบาสิกาวิสาขา
คำตอบ : ข
๑๓. การสมาทานรักษาอุโบสถ พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติขึ้นไว้ เพื่อประโยชน์
อะไร ?
ก. เพื่อขัดเกลากิเลส ข. เพื่อได้ฌานสมาบัติ
ค. เพื่อเห็นแจ้งมรรค ง. เพื่อบรรลุพระอรหัต
คำตอบ : ก
๑๔. การสมาทานรักษาอุโบสถ จัดเข้าในบุญกิริยาวัตถุข้อใด ?
ก. ทานมัย ข. ศีลมัย
ค. ภาวนามัย ง. อปจายนมัย
คำตอบ : ข
๑๕. การสมาทานรักษาอุโบสถ ข้อใดกล่าวถูกต้อง ?
ก. เกิดก่อนพุทธกาล ข. พระภิกษุถือปฏิบัติ
ค. สำหรับบุคคลชั้นสูง ง. ไม่มีในศาสนาอื่นๆ
คำตอบ : ก
๑๖. วิธีสมาทานอุโบสถก่อนพุทธกาล ท่านกำหนดไว้อย่างไร ?
ก. ต้องเปล่งวาจา ข. อธิษฐานเอง
ค. รับสรณคมน์ ง. นุ่งขาวห่มขาว
คำตอบ : ข
๑๗. การถืออุโบสถก่อนพุทธกาลกับสมัยพุทธกาล ตรงกันในข้อใด ?
ก. ถือศีล ๘ ข. อดอาหาร
ค. สรณคมน์ ง. พระรัตนตรัย
คำตอบ : ข
๑๘. อุโบสถใด ไม่นับเนื่องเข้าในคำสอนของพระพุทธเจ้า ?
ก. ปกติอุโบสถ ข. ปฏิชาครอุโบสถ
ค. นิคคัณฐอุโบสถ ง. ปาฏิหาริยอุโบสถ
คำตอบ : ค
๑๙. อุโบสถใด กำหนดให้รักษาตลอดวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง ?
ก. ปฏิชาครอุโบสถ ข. ปกติอุโบสถ
ค. ปาฏิหาริยอุโบสถ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ข
๒๐. อุโบสถที่บุคคลตั้งใจรักษาแล้วได้รับอานิสงส์มาก ตรงกับข้อใด ?
ก. ปฏิชาครอุโบสถ ข. ปกติอุโบสถ
ค. ปาฏิหาริยอุโบสถ ง. อริยอุโบสถ
คำตอบ : ง
๒๑. อุโบสถที่ผู้รักษามักไม่ค่อยสำรวมระวังในข้องดเว้น จึงทำให้ได้รับ
อานิสงส์น้อย ตรงกับข้อใด ?
ก. ปฏิชาครอุโบสถ ข. โคปาลกอุโบสถ
ค. ปาฏิหาริยอุโบสถ ง. ปกติอุโบสถ
คำตอบ : ข
๒๒. อุโบสถใด กำหนดให้สมาทานรักษาได้เฉพาะในฤดูฝน ?
ก. ปฏิชาครอุโบสถ ข. ปกติอุโบสถ
ค. ปาฏิหาริยอุโบสถ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ค
๒๓. อุโบสถที่ท่านกำหนดให้สมาทานรักษาคราวละ ๓ วัน คือ วันรับ
วันรักษาและวันส่ง ตรงกับข้อใด ?
ก. ปฏิชาครอุโบสถ ข. ปกติอุโบสถ
ค. ปาฏิหาริยอุโบสถ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ก
๒๔. ผู้ต้องการจะรักษาอุโบสถ ควรเตรียมความพร้อมเรื่องใด ?
ก. อาหาร ข. เสื้อผ้า
ค. ค่ารถ ง. จิตใจ
คำตอบ : ง
๒๕. ขั้นตอนใด กำหนดให้ทำก่อนสมาทานศีล ?
ก. บูชาพระรัตนตรัย ข. อาราธนาศีล
ค. ประกาศอุโบสถ ง. รับสรณคมน์
คำตอบ : ก
๒๖. การสมาทานอุโบสถนั้น ใครเป็นผู้สมาทาน ?
ก. ภิกษุ ข. สามเณร
ค. อุบาสก อุบาสิกา ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ค
๒๗. การสมาทานอุโบสถนั้น กำหนดให้สมาทานที่ไหน ?
ก. พระวิหาร ข. พระอุโบสถ
ค. ศาลาการเปรียญ ง. ที่ไหนก็ได้
คำตอบ : ง
๒๘. พระให้ศีล ๘ แต่ผู้สมาทานรับเพียง ๕ ข้อ จะวินิจฉัยอย่างไร ?
ก. รับศีล ๕ ข. รับศีล ๘
ค. ถือเป็นโมฆะ ง. ไม่ถือโมฆะ
คำตอบ : ก
๒๙. พระสรุปอานิสงส์ศีลว่า สีเลน โภคสมฺปทา หมายถึงข้อใด ?
ก. ศีลส่งทำให้สูง ข. ศีลปรุงทำให้สวย
ค. ศีลนำทำให้รวย ง. ศีลช่วยทำให้รอด
คำตอบ : ค
๓๐. บุญกุศลแห่งการรักษาอุโบสถ เกิดขึ้นด้วยอาการอย่างไร ?
ก. การงดเว้น ข. การได้พักผ่อน
ค. การพูดคุย ง. การกินมังสวิรัติ
คำตอบ : ก
๓๑. การรักษาอุโบสถของบุคคล จะไม่บกพร่องด้วยอาการอย่างไร ?
ก. หมั่นสำรวมระวัง ข. หมั่นชำระบาป
ค. หมั่นอาบน้ำมนต์ ง. หมั่นบวงสรวง
คำตอบ : ก
๓๒. ขณะรักษาอุโบสถอยู่นั้น ควรใช้เวลาให้เกิดประโยชน์อย่างไร ?
ก. ฟังธรรม ข. สนทนาธรรม
ค. เจริญภาวนา ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๓๓. เรื่องใด ไม่ควรนำมาพูดในขณะรักษาอุโบสถ ?
ก. เรื่องศีล ข. เรื่องสมาธิ
ค. เรื่องดวง ง. เรื่องชาดก
คำตอบ : ค
๓๔. อาหารที่ห้ามรับประทานในศีลข้อวิกาลโภชนา ได้แก่อะไร ?
ก. นม ข. ขนม
ค. กาแฟ ง. โกโก้
คำตอบ : ข
๓๕. ข้อใด คนทั่วไปและคนถืออุโบสถต้องงดเว้นเหมือนกัน ?
ก. อพรหมจรรย์ ข. การพูดเท็จ
ค. การฟ้อนรำ ง. การขับร้อง
คำตอบ : ข
๓๖. ข้อใด กำหนดให้ถือปฏิบัติต่างจากศีล ๕ ของคนทั่วไป ?
ก. การฆ่าสัตว์ ข. การลักทรัพย์
ค. อพรหมจรรย์ ง. การดื่มน้ำเมา
คำตอบ : ค
๓๗. คำว่า เวลาวิกาล หมายเอาเวลาไหน ?
ก. เวลาพระฉันเช้า ข. เวลาพระฉันเพล
ค. เวลาเที่ยงตรง ง. เวลาเที่ยงวันแล้ว
คำตอบ : ง
๓๘. อุโบสถศีลข้อที่ ๗ ผู้สมาทานรักษาต้องงดเว้นการกระทำใด ?
ก. ดูการเล่น ข. ออกกำลังกาย
ค. ทานเนื้อสัตว์ ง. ห้ามพูดคุยกัน
คำตอบ : ก
๓๙. คำว่า ข้าศึกต่อกุศล ในอุโบสถศีลข้อที่ ๗ หมายถึงอะไร ?
ก. ฟ้อนรำ ข. ขับร้อง
ค. ดีดสีตีเป่า ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๔๐. เครื่องลูบไล้ชนิดใด ผู้รักษาอุโบสถศีลสามารถใช้ทาตัวได้ ?
ก. แป้ง ข. น้ำหอม
ค. ยาหม่อง ง. ลิปสติก
คำตอบ : ค
๔๑. ผู้สมาทานรักษาอุโบสถ พึงหลีกเว้นที่นอนประเภทใด ?
ก. ที่นอนสูงใหญ่ ข. ที่นอนยัดนุ่น
ค. ที่นอนยัดสำลี ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๔๒. เครื่องปูลาดชนิดใด ห้ามผู้สมาทานรักษาอุโบสถนั่งหรือนอน ?
ก. เครื่องลาดอันสะอาด ข. เครื่องลาดอันวิจิตร
ค. เครื่องลาดหมองคล้ำ ง. เครื่องลาดทรงกลม
คำตอบ : ข
๔๓. ในปัญจอุโปสถชาดก ใครมีความถือตัวว่าเด่นกว่าคนอื่น จึงรักษาอุโบสถ
เพื่อข่มมานะของตน ?
ก. ฤษี ข. หมี
ค. พระปัจเจกพุทธเจ้า ง. โคอุสภะ
คำตอบ : ก
๔๔. คำว่า วางศัสตรา ในอุโบสถสูตร หมายความว่าอย่างไร ?
ก. เว้นฆ่าสัตว์ ข. เว้นลักทรัพย์
ค. เว้นพูดเท็จ ง. เว้นดื่มน้ำเมา
คำตอบ : ก
๔๕. คำว่า ไม่ลวงโลก ในอุโบสถสูตร หมายความว่าอย่างไร ?
ก. เว้นฆ่าสัตว์ ข. เว้นลักทรัพย์
ค. เว้นพูดเท็จ ง. เว้นดื่มน้ำเมา
คำตอบ : ค
๔๖. อุโบสถกึ่งเดียว หมายถึงอะไร ?
ก. รักษาศีลครึ่งวัน ข. รักษาศีลวันกับคืนหนึ่ง
ค. รักษาศีล ๓ วัน ง. รักษาศีลครบ ๔ เดือน
คำตอบ : ก
๔๗. รักษาอุโบสถเหมือนกัน แต่ได้บุญกุศลไม่เท่ากัน เพราะเหตุใด ?
ก. ไม่มีเวลา ข. ไม่มีพวกคุย
ค. ไม่ตั้งใจ ง. ไม่มีกำลังใจ
คำตอบ : ค
๔๘. การรักษาอุโบสถศีล จะสิ้นสุดลงเมื่อใด ?
ก. ตอนพระบิณฑบาต ข. หลังเที่ยงวันแล้ว
ค. ก่อนพระอาทิตย์ตก ง. ครบกำหนดเวลา
คำตอบ : ง
๔๙. ศีลสร้างความเสมอภาคแก่มนุษย์ หมายความว่าอย่างไร ?
ก. ทุกคนรักษาได้ ข. ทุกวัยรักษาได้
ค. ได้บุญทุกคน ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๕๐. อะไรเป็นเป้าหมายสูงสุดในการถืออุโบสถศีล ?
ก. มนุษยสมบัติ ข. จักรพรรดิสมบัติ
ค. สวรรคสมบัติ ง. นิพพานสมบัติ
คำตอบ : ง
*** ***
***
เฉลยวิชาอุโบสถศีล (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์
ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
๑. |
ก |
๑๑. |
ก |
๒๑. |
ข |
๓๑. |
ก |
๔๑. |
ง |
๒. |
ค |
๑๒. |
ข |
๒๒. |
ค |
๓๒. |
ง |
๔๒. |
ข |
๓. |
ข |
๑๓. |
ก |
๒๓. |
ก |
๓๓. |
ค |
๔๓. |
ก |
๔. |
ค |
๑๔. |
ข |
๒๔. |
ง |
๓๔. |
ข |
๔๔. |
ก |
๕. |
ง |
๑๕. |
ก |
๒๕. |
ก |
๓๕. |
ข |
๔๕. |
ค |
๖. |
ง |
๑๖. |
ข |
๒๖. |
ค |
๓๖. |
ค |
๔๖. |
ก |
๗. |
ง |
๑๗. |
ข |
๒๗. |
ง |
๓๗. |
ง |
๔๗. |
ค |
๘. |
ค |
๑๘. |
ค |
๒๘. |
ก |
๓๘. |
ก |
๔๘. |
ง |
๙. |
ข |
๑๙. |
ข |
๒๙. |
ค |
๓๙. |
ง |
๔๙. |
ง |
๑๐. |
ก |
๒๐. |
ง |
๓๐. |
ก |
๔๐. |
ค |
๕๐. |
ง |
กระทู้ธรรม ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์ ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
เวลา ๐๙.๐๐ น.
ไม่ควรเสพธรรมที่เลว ไม่ควรอยู่กับความประมาท
ไม่ควรเสพมิจฉาทิฏฐิ ไม่ควรเป็นคนรกโลก.
( พุทฺธ ) ขุ.ธ. ๒๕/๓๓.
-------------------- |
|
แต่งอธิบายเป็นทำนองเทศนาโวหาร อ้างสุภาษิตอื่นมาประกอบไม่น้อยกว่า ๓ ข้อ และบอกชื่อคัมภีร์ที่มาแห่งสุภาษิตนั้นด้วย ห้ามอ้างสุภาษิตซ้ำข้อกันแต่จะซ้ำคัมภีร์ได้ ไม่ห้าม สุภาษิตที่อ้างมานั้น ต้องเรียงเชื่อมความให้ติดต่อสมเรื่องกับกระทู้ตั้ง. |
ชั้นนี้
กำหนดให้เขียนลงในใบตอบ ตั้งแต่ ๔ หน้า (เว้นบรรทัด) ขึ้นไป
|
-------------------- |
ให้เวลา ๓ ชั่วโมง
|
ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์ ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
เวลา ๑๓.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑. คำว่า โลก ในบาลีว่า เอถ ปสฺสถิมํ โลกํ หมายถึงข้อใด ?
ก. แผ่นดินและหมู่สัตว์ ข. แผ่นดินและจักรวาล
ค. แผ่นดิน น้ำ อากาศ ง. หมู่มนุษย์และสัตว์
คำตอบ : ก
๒. พระพุทธเจ้าตรัสสอนให้ดูโลกอย่างไร ?
ก. ดูประโยชน์มิใช่ประโยชน์ ข. ดูคุณและโทษ
ค. ดูตามเป็นจริง ง. ดูว่าไม่มีแก่นสาร
คำตอบ : ค
๓. ข้อใด เป็นพุทธประสงค์ให้มาดูโลก ?
ก. เพื่อไม่ให้มัวเมาติดอยู่ ข. เพื่ออยู่อย่างปลอดภัย
ค. เพื่อความไม่ประมาท ง. เพื่อหาทางออกจากโลก
คำตอบ : ก
๔. ทำอย่างไร จึงจะไม่ถูกเรียกว่า พวกคนเขลา ?
ก. ต้องรู้ทันโลก ข. ต้องรู้โลกตามเป็นจริง
ค. ต้องรู้โลกธรรม ง. ต้องรู้คดีโลกคดีธรรม
คำตอบ : ข
๕. ทำอย่างไร ถึงจะไม่ข้องอยู่ในโลก ?
ก. ไม่ติดในสิ่งล่อใจ ข. ไม่ยุ่งกับใคร
ค. ปรารถนาไม่เกิดอีก ง. ออกบวช
คำตอบ : ก
๖. ข้อใด มิใช่อาการสำรวมจิตตามหลักของนิพพิทา ?
ก. สำรวมอินทรีย์ ๖ ข. พิจารณาปัจจัย ๔
ค. มนสิการกัมมัฏฐาน ง. เจริญวิปัสสนา
คำตอบ : ข
๗. โดยตรง ท่านจัดอะไรเป็นมาร ?
ก. กิเลสกาม ข. วัตถุกาม
ค. กามกิเลส ง. กามตัณหา
คำตอบ : ก
๘. เพราะเหตุไร จึงจัดว่าเป็นมาร ?
ก. เพราะทำให้ติดใจ ข. เพราะทำให้หลง
ค. เพราะล้างผลาญความดี ง. เพราะทำให้เป็นอันธพาล
คำตอบ : ค
๙. กำจัดมารนั้นได้ ด้วยวิธีอย่างไร ?
ก. สำรวมกาย วาจา ใจ ข. สำรวมจิต
ค. ปิดปาก ปิดหู ปิดตา ง. ไม่รับรู้อารมณ์
คำตอบ : ข
๑๐. การทำใจให้สงบเป็นสมาธิ จัดเป็นวิสุทธิใด ในวิสุทธิ ๗ ?
ก. สีลวิสุทธิ ข. จิตตวิสุทธิ
ค. ทิฏฐิวิสุทธิ ง. ญาณทัสสนวิสุทธิ
คำตอบ : ข
๑๑. สังขารในปฏิปทาแห่งนิพพิทานั้น โดยตรงได้แก่อะไร ?
ก. สังขารทั้งหมด ข. สังขารในขันธ์ ๕
ค. ปัญจขันธ์ ง. รูปขันธ์
คำตอบ : ค
๑๒. นิพพิทานั้นเกิดขึ้นด้วยอะไร จึงเป็นนิพพิทาญาณ ?
ก. เกิดด้วยปัญญา ข. เกิดด้วยฌาน
ค. เกิดด้วยวิสุทธิ ง. เกิดด้วยสมาธิ
คำตอบ : ก
๑๓. ข้อใด เป็นสมมติสัจจะ ?
ก. สังขารไม่เที่ยง ข. สังขารเป็นทุกข์
ค. ธรรมเป็นอนัตตา ง. มารดาบิดา
คำตอบ : ง
๑๔. สังขารที่ผันแปรไปในระหว่าง เรียกว่าอะไร ?
ก. อนิจจลักษณะ ข. ทุกขลักษณะ
ค. อนัตตลักษณะ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ก
๑๕. ข้อใด เป็นความหมายของทุกข์ ?
ก. สภาพที่เบียดเบียนสัตว์ ข. สภาพอันปัจจัยปรุงแต่ง
ค. สภาพไม่มีความยั่งยืน ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๑๖. ความหนาว ร้อน หิว กระหาย จัดเป็นทุกข์ข้อใด ?
ก. สภาวทุกข์ ข. นิพัทธทุกข์
ค. วิปากทุกข์ ง. พยาธิทุกข์
คำตอบ : ข
๑๗. อวัยวะไม่ทำหน้าที่ตามปกติจนเกิดความทุกข์ เป็นทุกข์ข้อใด ?
ก. สภาวทุกข์ ข. นิพัทธทุกข์
ค. วิปากทุกข์ ง. พยาธิทุกข์
คำตอบ : ง
๑๘. พูดโดยไม่คิด พ่นพิษใส่คนอื่น จัดเป็นทุกข์ข้อใด ?
ก. สหคตทุกข์ ข. วิวาทมูลกทุกข์
ค. พยาธิทุกข์ ง. นิพัทธทุกข์
คำตอบ : ข
๑๙. วิปากทุกข์ หมายถึงทุกข์ข้อใด ?
ก. ทุกข์เพราะเสวยผลกรรม ข. ทุกข์เพราะวิวาทกัน
ค. ทุกข์เพราะเศรษฐกิจ ง. ทุกข์เพราะเจ็บป่วย
คำตอบ : ก
๒๐. สันตาปทุกข์ ทุกข์เพราะใจร้อนรน เกิดจากอะไร ?
ก. อารมณ์เครียด ข. ความผิดหวัง
ค. ราคะเป็นต้นแผดเผา ง. วิตกจริตแผดเผา
คำตอบ : ค
๒๑. ข้อใด เป็นสภาวทุกข์ ?
ก. เกิด แก่ ตาย ข. ร้อน หิว กระหาย
ค. โรค ภัย ไข้เจ็บ ง. ยากจน อดอยาก
คำตอบ : ก
๒๒. ทุกข์ทั้งหมดรวมเรียกว่า ทุกขขันธ์ เกิดขึ้นเพราะสาเหตุใด ?
ก. ขาดสติ ข. ขาดปัญญา
ค. ความยึดมั่น ง. ความเห็นแก่ตัว
คำตอบ : ค
๒๓. ข้อใด ช่วยบรรเทาความเศร้าโศกเสียใจได้ ?
ก. ตั้งสติปล่อยวาง ข. ร้องไห้ดัง ๆ
ค. ไปเที่ยวพักผ่อน ง. ฟังพระเทศน์
คำตอบ : ก
๒๔. พึงปฏิบัติต่อสังขารอย่างไร ?
ก. มีสติทุกเมื่อ ข. พิจารณาทุกเมื่อ
ค. ศึกษาให้รู้จริง ง. ศึกษาตัวเอง
คำตอบ : ก
๒๕. เห็นสังขารเป็นทุกข์แล้วเกิดอะไรขึ้น จึงเรียกนิพพิทา ?
ก. เบื่อหน่าย ข. คลายกำหนัด
ค. ปล่อยวาง ง. ปลงตก
คำตอบ : ก
๒๖. เห็นว่า นั่นมิใช่เรา นั่นมิใช่ของเรา จัดเป็นอนัตตาในข้อใด ?
ก. ไม่อยู่ในอำนาจ ข. แย้งต่ออัตตา
ค. หาเจ้าของมิได้ ง. เป็นสภาพสูญ
คำตอบ : ค
๒๗. เพราะถูกอะไรปิดบังไว้ จึงไม่เห็นสังขารเป็นอนัตตา ?
ก. อิริยาบถ ข. สันตติ
ค. อนิจจสัญญา ง. ฆนสัญญา
คำตอบ : ง
๒๘. เมื่อเกิดนิพพิทา ย่อมเป็นเหตุให้เกิดอะไรตามมา ?
ก. ความหลุดพ้น ข. ความสิ้นกำหนัด
ค. ความไม่ประมาท ง. ความบริสุทธิ์
คำตอบ : ข
๒๙. อิริยาบถใด เหมาะแก่ผู้เริ่มเจริญกัมมัฏฐาน ?
ก. ยืน เดิน ข. ยืน นอน
ค. นั่ง เดิน ง. นั่ง นอน
คำตอบ : ค
๓๐. ผู้ฝึกจิตจนช่ำชองแล้ว ควรใช้อิริยาบถใด ?
ก. ยืน ข. เดิน
ค. นั่ง ง. ทุกอิริยาบถ
คำตอบ : ง
๓๑. อะไรเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้การเจริญกัมมัฏฐานไม่ได้ผล ?
ก. ไม่ตั้งใจจริง ข. ปฏิบัติไม่ถูกวิธี
ค. มีปลิโพธมาก ง. กัมมัฏฐานไม่ถูกจริต
คำตอบ : ค
๓๒. สถานที่ใด เหมาะแก่ผู้เริ่มเจริญกัมมัฏฐาน ?
ก. ป่าไม้ ข. ป่าช้า
ค. โคนไม้อันสงัด ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๓๓. ข้อใด มิใช่ความหมายของคำว่า พุทฺโธ ?
ก. ผู้รู้ ข. ผู้ตื่น
ค. ผู้เบิกบาน ง. ผู้มีโชค
คำตอบ : ง
๓๔. คนที่เห็นว่า ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว ตรงกับข้อใด ?
ก. สัมมาสติ ข. สัมมาทิฏฐิ
ค. สัมมาสมาธิ ง. สัมมาสังกัปปะ
คำตอบ : ข
๓๕. ข้อใด จัดเข้าในจิตตวิสุทธิ ?
ก. สัมมาวาจา ข. สัมมากัมมันตะ
ค. สัมมาอาชีวะ ง. สัมมาสติ
คำตอบ : ง
๓๖. ข้อใด เป็นอุบายดับกามฉันทนิวรณ์ ?
ก. พิจารณาว่าไม่เที่ยง ข. พิจารณาว่าไม่งาม
ค. พิจารณาสักว่าเป็นธาตุ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ข
๓๗. คนชอบง่วงนอน ควรเจริญกัมมัฏฐานอะไร ?
ก. พรหมวิหาร ข. กสิณ
ค. มูลกัมมัฏฐาน ง. พุทธานุสสติ
คำตอบ : ง
๓๘. ข้อใด ตรงกับคำว่า จริต ความประพฤติเป็นไปของสัตว์โลก ?
ก. อุปนิสัย ข. นิสัย
ค. จิต ง. อารมณ์
คำตอบ : ข
๓๙. คนสัทธาจริต มีลักษณะเช่นไร ?
ก. เชื่อง่าย ข. เชื่อเหตุผล
ค. เชื่อมั่นตัวเอง ง. เชื่ออาจารย์
คำตอบ : ก
๔๐. กัมมัฏฐานข้อใด เหมาะแก่คนสัทธาจริต ?
ก. พุทธานุสสติ ข. กายคตาสติ
ค. มรณสติ ง. อุปสมานุสสติ
คำตอบ : ก
๔๑. คนโทสจริต มักมีลักษณะเช่นไร ?
ก. เครียดง่าย ข. หงุดหงิดง่าย
ค. ฟุ้งซ่านง่าย ง. ใจน้อยง่าย
คำตอบ : ข
๔๒. กัมมัฏฐานข้อใด เหมาะแก่คนโทสจริต ?
ก. อสุภะ ข. อนุสสติ
ค. กสิณ ง. พรหมวิหาร
คำตอบ : ง
๔๓. คนวิตกจริต มีลักษณะเช่นไร ?
ก. คิดฟุ้งซ่าน ข. กังวลไปทุกเรื่อง
ค. นอนไม่ค่อยหลับ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๔๔. กัมมัฏฐานข้อใด เหมาะแก่คนวิตกจริต ?
ก. อานาปานสติ ข. มรณสติ
ค. อสุภะ ง. พรหมวิหาร
คำตอบ : ก
๔๕. ผู้เจริญมรณสติต้องประกอบด้วยองค์อะไรบ้าง จึงจะแยบคาย ?
ก. ระลึกถึงความตาย ข. รู้ว่าต้องตายแน่
ค. เกิดสังเวชสลดใจ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๔๖. เจริญมรณสติอย่างไร ชื่อว่าไม่แยบคาย ?
ก. ไม่กลัวตาย ข. เกิดความสังเวช
ค. สะดุ้งหวาดผวา ง. กล้าเผชิญความตาย
คำตอบ : ค
๔๗. พิจารณา เกสา โลมา
อย่างไร จึงจัดเป็นวิปัสสนา ?
ก. ปฏิกูลน่าเกลียด ข. ไม่งามน่ารังเกียจ
ค. เต็มไปด้วยซากศพ ง. ไม่จิรังต้องแตกสลาย
คำตอบ : ง
๔๘. เหตุใด ท่านจึงสอนให้เจริญเมตตาในตนก่อน ?
ก. เพื่อให้ตนเป็นพยาน ข. เพื่อให้รักตนมากๆ
ค. เพื่อให้ตนเป็นที่รัก ง. เพื่อให้หมดโทสะ
คำตอบ : ก
๔๙. สติกำหนดพิจารณาใจที่เศร้าหมองหรือผ่องแผ้วเป็นอารมณ์ว่า ใจนี้
สักว่าใจ
จัดเข้าในสติปัฏฐานข้อใด ?
ก. กายานุปัสสนา ข. เวทนานุปัสสนา
ค. จิตตานุปัสสนา ง. ธัมมานุปัสสนา
คำตอบ : ค
๕๐. พิจารณาธาตุ ๔ อย่างไร จึงจัดเป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน ?
ก. พิจารณาสักว่าเป็นธาตุ ข. พิจารณาว่าว่างเปล่า
ค. พิจารณาว่าไม่เที่ยง ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
*** ***
***
เฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์
ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
๑. |
ก |
๑๑. |
ค |
๒๑. |
ก |
๓๑. |
ค |
๔๑. |
ข |
๒. |
ค |
๑๒. |
ก |
๒๒. |
ค |
๓๒. |
ง |
๔๒. |
ง |
๓. |
ก |
๑๓. |
ง |
๒๓. |
ก |
๓๓. |
ง |
๔๓. |
ง |
๔. |
ข |
๑๔. |
ก |
๒๔. |
ก |
๓๔. |
ข |
๔๔. |
ก |
๕. |
ก |
๑๕. |
ง |
๒๕. |
ก |
๓๕. |
ง |
๔๕. |
ง |
๖. |
ข |
๑๖. |
ข |
๒๖. |
ค |
๓๖. |
ข |
๔๖. |
ค |
๗. |
ก |
๑๗. |
ง |
๒๗. |
ง |
๓๗. |
ง |
๔๗. |
ง |
๘. |
ค |
๑๘. |
ข |
๒๘. |
ข |
๓๘. |
ข |
๔๘. |
ก |
๙. |
ข |
๑๙. |
ก |
๒๙. |
ค |
๓๙. |
ง |
๔๙. |
ค |
๑๐. |
ข |
๒๐. |
ค |
๓๐. |
ง |
๔๐. |
ง |
๕๐. |
ง |
ปัญหาและเฉลยวิชาพุทธานุพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์ ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
เวลา ๑๔.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑. การศึกษาพุทธานุพุทธประวัติ ได้ความรู้ทางใดบ้าง ?
ก. ประวัติศาสตร์ ข. พุทธจริยา
ค. ศาสนธรรม ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๒. ประชาชนส่วนใหญ่ก่อนพุทธกาล นับถือศาสนาใด ?
ก. ศาสนาพราหมณ์ ข. ศาสนาพุทธ
ค. ศาสนาซิก ง. ศาสนาอิสลาม
คำตอบ : ก
๓. ข้อใด เป็นผลเสียของการแบ่งชั้นวรรณะ ?
ก. ความแตกแยก ข. เกิดช่องว่างในสังคม
ค. ขาดเอกภาพ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๔. การปกครองโดยสามัคคีธรรม ตรงกับข้อใด ?
ก. ประชาธิปไตย ข. จักรพรรดิราช
ค. เผด็จการ ง. สังคมนิยม
คำตอบ : ก
๕. ข้อใด เป็นผลเสียของพวกมีความเห็นว่าตายแล้วสูญ ?
ก. ไม่กลัวบาปกรรม ข. เอาตัวรอดในปัจจุบัน
ค. ไม่กลัวเกิดในทุคติ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๖. กษัตริย์พระองค์ใด เป็นต้นศากยวงศ์ ?
ก. พระเจ้าชยเสนะ ข. พระเจ้าอัญชนะ
ค. พระเจ้าสีหหนุ ง. พระเจ้าโอกกากราช
คำตอบ : ง
๗. พระเจ้าชัยเสนะ เป็นพระบิดาของใคร ?
ก. พระเจ้าสีหหนุ ข. พระเจ้าอัญชนะ
ค. พระเจ้าสุทโธทนะ ง. พระเจ้าสุปปพุทธะ
คำตอบ : ก
๘. อะไรเป็นเหตุให้พระมหาบุรุษเกิดสังเวช แล้วเสด็จออกบรรพชา ?
ก. พระราหุลประสูติ ข. ความแก่ เจ็บ ตาย
ค. เบื่อหน่ายในชีวิต ง. การเมือง
คำตอบ : ข
๙. พระมหาบุรุษได้อุปมา ๓ ข้อ ณ ที่ไหน ?
ก. เมืองกบิลพัสดุ์ ข. ฝั่งแม่น้ำคงคา
ค. ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม ง. ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน
คำตอบ : ค
๑๐. ผู้ครองเรือนและมีความพอใจในกาม เปรียบได้กับข้อใด ?
ก. ไม้สดแช่ในน้ำ ข. ไม้สดบนบก
ค. ไม้แห้งบนบก ง. ไม้แห้งแช่น้ำ
คำตอบ : ก
๑๑. บุคคลใด ปฏิบัติธรรม แต่ไม่อาจจะบรรลุมรรคผลได้ ?
ก. คนครองเรือน ข. คนไม่มีกัลยาณมิตร
ค. คนไม่มีกำลัง ง. คนไม่ได้พบพระพุทธเจ้า
คำตอบ : ค
๑๒. มารที่พระมหาบุรุษทรงเอาชนะได้ในคราวตรัสรู้ ได้แก่อะไร ?
ก. กิเลส ข. มารจริง ๆ
ค. เจ้าลัทธิอื่น ง. เทวดามิจฉาทิฏฐิ
คำตอบ : ก
๑๓. ในปฐมยาม พระพุทธเจ้าทรงบรรลุธรรมอะไร ?
ก. ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ข. จุตูปปาตญาณ
ค. อาสวักขยญาณ ง. ทศพลญาณ
คำตอบ : ก
๑๔. หลังจากตรัสรู้ พระองค์ทรงพิจารณาปฏิจจสมุปบาทที่ไหน ?
ก. ร่มไม้ศรีมหาโพธิ์ ข. ร่มไม้ราชายตนะ
ค. ร่มไม้มุจลินท์ ง. ร่มไม้อชปาลนิโครธ
คำตอบ : ก
๑๕. ตปุสสะกับภัลลิกะ แสดงตนเป็นอุบาสกที่ไหน ?
ก. อชปาลนิโครธ ข. มุจจลินท์
ค. ราชายตนพฤกษ์ ง. อัสสัตถพฤกษ์
คำตอบ : ค
๑๖. ผู้ที่สามารถเข้าใจได้ ต่อเมื่อผู้อื่นอธิบายความ ตรงกับข้อใด ?
ก. อุคฆฏิตัญญู ข. วิปจิตัญญู
ค. เนยยะ ง. ปทปรมะ
คำตอบ : ข
๑๗. ในปฐมเทศนา ทุกข์อะไรที่ทุกคนต้องประสบ ?
ก. เกิด แก่ ตาย ข. ร้องไห้ เสียใจ
ค. ผิดหวัง รำพัน ง. เครียด หงุดหงิด
คำตอบ : ก
๑๘. โดยรวบยอด ทุกข์มีอย่างเดียว คืออะไร ?
ก. ความตาย ข. ความยึดมั่น
ค. ความทะยานยาก ง. ความล้มเหลว
คำตอบ : ข
๑๙. เราจักดับทุกข์หนึ่งเดียวนั้นได้เด็ดขาด ด้วยวิธีใด ?
ก. ไตรสิกขา ข. มรรคมีองค์ ๘
ค. เจริญวิปัสสนา ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๒๐. ใครออกบวช เพราะเชื่อมั่นในวิชาโหราศาสตร์ ?
ก. พระวังคีสะ ข. พระโกณฑัญญะ
ค. พระมหากัสสปะ ง. พระอัสสชิ
คำตอบ : ข
๒๑. คำว่า รัตตัญญู ในตำแหน่งเอตทัคคะ มีความหมายอย่างไร ?
ก. ผู้รู้กาลนาน ข. ผู้มีอายุมาก
ค. ผู้รู้ธรรมมาก ง. ผู้รู้ธรรมก่อนผู้อื่น
คำตอบ : ง
๒๒. คำว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งหมดล้วน
มีความดับไปเป็นธรรมดา เกิดขึ้นแก่ใครเป็นครั้งแรก ?
ก. พระวัปปะ ข. พระภัททิยะ
ค. พระโกณฑัญญะ ง. พระอัสสชิ
คำตอบ : ค
๒๓. พระยสะบรรลุอรหัตผล เพราะฟังธรรมเทศนาอะไร ?
ก. ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ข. อนุปุพพีกถา อริยสัจ
ค. อาทิตตปริยายสูตร ง. อนัตตลักขณสูตร
คำตอบ : ข
๒๔. หลังจากตรัสรู้ พระพุทธเจ้าทรงจำพรรษาแรกที่ใด ?
ก. ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม ข. ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน
ค. เวฬุวันเมืองราชคฤห์ ง. ใต้ต้นศรีมหาโพธิ์
คำตอบ : ข
๒๕. พระอริยสาวกรูปที่ ๖ มีชื่อว่าอะไร ?
ก. พระควัมปติ ข. พระอุรุเวลกัสสปะ
ค. พระสารีบุตร ง. พระยสะ
คำตอบ : ง
๒๖. จุดประสงค์หลักที่พระพุทธองค์ทรงส่งพระสาวกไปประกาศพระศาสนา
คืออะไร ?
ก. เพื่อเผยแผ่พระศาสนา ข. เพื่อทำให้โลกร่มเย็น
ค. เพื่อให้มหาชนหมดกิเลส ง. เพื่อประโยชน์สุขแก่มหาชน
คำตอบ : ง
๒๗. อุปติสสะและโกลิตะไปดูมหรสพ คิดอย่างไรจึงออกบวช ?
ก. คนพวกนี้ไม่ถึงร้อยปีก็ตาย ข. คนพวกนี้หลอกลวงพวกเรา
ค. คนพวกนี้หลงละเลิงในกิเลส ง. สิ่งเหล่านี้เป็นเพียงมายา
คำตอบ : ก
๒๘. มิตรมีอุปการะต่อมิตร ปรากฏชัดในประวัติของใคร ?
ก. พระอุรุเวลกัสสปะ ข. พระมหากัสสปะ
ค. พระโมคคัลลานะ ง. พระสารีบุตร
คำตอบ : ง
๒๙. พระสาวกรูปใด เปรียบเหมือนนางนมผู้เลี้ยงดูทารก ?
ก. พระสารีบุตร ข. พระโมคคัลลานะ
ค. พระอัสสชิ ง. พระอนุรุทธะ
คำตอบ : ข
๓๐. พระสาวกรูปใด ที่พระพุทธองค์ทรงแลกผ้าสังฆาฏิด้วย ?
ก. พระสารีบุตร ข. พระมหากัสสปะ
ค. พระมหากัจจายนะ ง. พระโมคคัลลานะ
คำตอบ : ข
๓๑. มหาสันนิบาตแห่งพระอริยสาวก เป็นเหตุให้เกิดอะไร ?
ก. ธัมจักกัปปวัตตนสูตร ข. อนัตตลักขณสูตร
ค. อาทิตตปริยายสูตร ง. โอวาทปาฏิโมกข์
คำตอบ : ง
๓๒. ความสงสัยเกิดขึ้นเมื่อใด ขอข้าพระองค์ทูลถามได้เมื่อนั้น เป็นคำพูด
ของใคร ?
ก. พระภัททิยะ ข. พระมหานามะ
ค. พระอานนท์ ง. พระอนุรุทธะ
คำตอบ : ค
๓๓. ใครอุปสมบทด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจา เป็นรูปแรก ?
ก. พระรัฐบาล ข. พระอานนท์
ค. พระราธะ ง. พระสุภัททะ
คำตอบ : ค
๓๔. ใครทูลเชิญพระศาสดาเสด็จไปกรุงกบิลพัสดุ์ได้สำเร็จ ?
ก. พระอานนท์ ข. พระอุบาลี
ค. พระฉันนะ ง. พระกาฬุทายี
คำตอบ : ง
๓๕. พระสาวกรูปใด ได้รับเอตทัคคะทำตระกูลให้เลื่อมใส ?
ก. พระกาฬุทายี ข. พระโสภิตะ
ค. พระพากุละ ง. พระรัฐบาล
คำตอบ : ก
๓๖. พระศาสดา แสดงธรรมโปรดพระเจ้าสุทโธทนะครั้งแรกที่ไหน ?
ก. บุพพาราม ข. เวฬุวนาราม
ค. นิโครธาราม ง. อัมพวนาราม
คำตอบ : ค
๓๗. พระเทวทัตไม่ได้บรรลุมรรคผล เพราะอะไร ?
ก. มีมานะว่าเป็นกษัตริย์ ข. ไม่ได้บวชด้วยศรัทธา
ค. มีปัญญาด้อยกว่าผู้อื่น ง. ลาภสักการะครอบงำ
คำตอบ : ง
๓๘. ใครสอนวิธีการทำนาแก่อนุรุทธศากยะ ?
ก. พระเจ้ามหานามะ ข. พระเจ้าอมิโตทนะ
ค. พระเจ้าภัททิยะ ง. พระเจ้าสุกโกทนะ
คำตอบ : ก
๓๙. เพราะเหตุไร นายภูษามาลาชื่ออุบาลีจึงได้บวชก่อนเจ้าชายทั้ง ๖ ?
ก. อุบาลีมีอายุมากกว่า ข. ต้องการละมานะ
ค. เคยมีอุปการต่อกัน ง. เป็นพุทธประสงค์
คำตอบ : ข
๔๐. พระสาวกรูปใด เดินจงกรมจนเท้าแตก ?
ก. พระรัฐบาล ข. พระโสณกุฏิกัณณะ
ค. พระโสณโกฬิวิสะ ง. พระภัททิยะ
คำตอบ : ค
๔๑. พระนางปชาบดี แสดงความตั้งใจจะบวชด้วยวิธีใด ?
ก. ตัดพระเมาลี ข. อดพระกระยาหาร
ค. นั่งประท้วง ง. กลั้นลมหายใจ
คำตอบ : ก
๔๒. พระนางปชาบดี บวชเป็นภิกษุณีด้วยวิธีใด ?
ก. เอหิภิกขุอุปสัมปทา ข. ติสรณคมนูปสัมปทา
ค. รับครุธรรม ๘ ง. ญัตติจตุตถกรรม
คำตอบ : ค
๔๓. พระสาวกรูปใด ทูลขอให้มีการบวชภิกษุณีเป็นครั้งแรก ?
ก. พระสารีบุตร ข. พระมหากัสสปะ
ค. พระโกณฑัญญะ ง. พระอานนท์
คำตอบ : ง
๔๔. พระพุทธองค์ทรงแสดงมหาปเทส ๔ ที่ไหน ?
ก. โภคนคร ข. อานันทเจดีย์
ค. กูฏาคารศาลา ง. ภัณฑุคาม
คำตอบ : ข
๔๕. บุคคลต่อไปนี้ ใครเป็นผู้ถวายผ้าสิงคิวรรณ ?
ก. ตปุสสะ ข. ปุกกุสะ
ค. ภัลลิกะ ง. จุนทะ
คำตอบ : ข
๔๖. เพราะเหตุใด พระอานนท์จึงไม่ได้ทูลอาราธนาให้พระพุทธเจ้าดำรงอยู่
อีกกัปหนึ่งหรือเกินกว่านั้น ?
ก. ถูกมารดลใจ ข. กำลังใจ
ค. ยังไม่บรรลุพระอรหัต ง. เกิดปริวิตก
คำตอบ : ก
๔๗. พระศาสดาเสด็จปรินิพพานที่เมืองไหน ?
ก. เมืองราชคฤห์ ข. เมืองกุสินารา
ค. เมืองสาวัตถี ง. เมืองพาราณสี
คำตอบ : ข
๔๘. ต้นพระศรีมหาโพธิ์ จัดเป็นเจดีย์ประเภทใด ?
ก. ธาตุเจดีย์ ข. บริโภคเจดีย์
ค. ธรรรมเจดีย์ ง. อุทเทสิกเจดีย์
คำตอบ : ข
๔๙. สถานที่ใด เป็นที่ทำสังคายนาครั้งแรก ?
ก. ถ้ำสัตตบรรณ ข. ถ้ำปิปผลิ
ค. ถ้ำสุกรขาตา ง. ถ้ำอิสิคิลิ
คำตอบ : ก
๕๐. พระเถระใด นำพระพุทธศาสนามาเผยแผ่ยังสุวรรณภูมิ ?
ก. พระโสณะ-พระอุตตระ ข. พระธัมมรักขิตะ-พระมหินทะ
ค. พระรักขิตะ-พระมหาเทวะ ง. พระมัชฌันติกะ-พระมัชฌิมะ
คำตอบ : ก
*** ***
***
เฉลยวิชาพุทธานุพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์
ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
๑. |
ง |
๑๑. |
ค |
๒๑. |
ง |
๓๑. |
ง |
๔๑. |
ก |
๒. |
ก |
๑๒. |
ก |
๒๒. |
ค |
๓๒. |
ค |
๔๒. |
ค |
๓. |
ง |
๑๓. |
ก |
๒๓. |
ข |
๓๓. |
ค |
๔๓. |
ง |
๔. |
ก |
๑๔. |
ก |
๒๔. |
ข |
๓๔. |
ง |
๔๔. |
ข |
๕. |
ง |
๑๕. |
ค |
๒๕. |
ง |
๓๕. |
ก |
๔๕. |
ข |
๖. |
ง |
๑๖. |
ข |
๒๖. |
ง |
๓๖. |
ค |
๔๖. |
ก |
๗. |
ก |
๑๗. |
ก |
๒๗. |
ก |
๓๗. |
ง |
๔๗. |
ข |
๘. |
ข |
๑๘. |
ข |
๒๘. |
ง |
๓๘. |
ก |
๔๘. |
ข |
๙. |
ค |
๑๙. |
ง |
๒๙. |
ข |
๓๙. |
ข |
๔๙. |
ก |
๑๐. |
ก |
๒๐. |
ข |
๓๐. |
ข |
๔๐. |
ค |
๕๐. |
ก |
ปัญหาและเฉลยวิชากรรมบถ (วินัย)
ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์ ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
เวลา ๑๕.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑. ธรรมชาติที่มีอิทธิพลเหนือดวงดาว ผีสางเทวดา ตรงกับข้อใด ?
ก. เทวานุภาพ ข. พระผู้เป็นเจ้า
ค. เครื่องรางของขลัง ง. กฎแห่งกรรม
คำตอบ : ง
๒. การประกอบกรรมดี ทำสิ่งที่เป็นประโยชน์ เรียกว่าอะไร ?
ก. กุศลเจตนา ข. อกุศลเจตนา
ค. กุศลกรรม ง. อกุศลกรรม
คำตอบ : ค
๓. การทำความดีของมนุษย์ทั้งหลาย มุ่งถึงประโยชน์อะไร ?
ก. เพื่อเพิ่มพูนบุญกุศล ข. เพื่องดเว้นความชั่ว
ค. เพื่อละความเห็นแก่ตัว ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๔. กุศลกรรมบถ มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก. ทางแห่งความดี ข. ทางไปทุคติ
ค. ทางแห่งกรรม ง. ทางก้าวหน้า
คำตอบ : ก
๕. ผลแห่งกรรมดีที่บุคคลพึงได้รับในชาติหน้า ตรงกับข้อใด ?
ก. มนุษย์สรรเสริญ ข. เทวดาสรรเสริญ
ค. ตายแล้วไปสุคติ ง. ตายแล้วไปทุคติ
คำตอบ : ค
๖. ความดีทางกาย เป็นเหตุให้เกิดความสุข ตรงกับข้อใด ?
ก. การไม่ฆ่าสัตว์ ข. การไม่พูดโกหก
ค. การไม่โลภอยากได้ ง. การไม่ปองร้าย
คำตอบ : ก
๗. ความชั่วทางใจ เป็นเหตุให้เกิดความทุกข์ ตรงกับข้อใด ?
ก. การลักทรัพย์ ข. การพูดเท็จ
ค. การนอกใจสามี ง. การปองร้าย
คำตอบ : ง
๘. การทำกรรมดีหรือกรรมชั่ว มีอะไรเป็นเครื่องสนับสนุน ?
ก. อารมณ์ ข. เจตนา
ค. มูลเหตุ ง. เวทนา
คำตอบ : ข
๙. ปกติของจิตเป็นธรรมชาติใสสะอาด แต่กลายสภาพเป็นความโลภ เพราะ
มีอะไรเข้าไปอิงอาศัย ?
ก. โลภะ ข. โทสะ
ค. โมหะ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ก
๑๐. บุคคลมีจิตประกอบด้วยโทสะ ย่อมมีพฤติกรรมเช่นไร ?
ก. ฟุ้งซ่าน ข. มักใจร้อน
ค. ยิ้มแย้ม ง. หลงๆ ลืมๆ
คำตอบ : ข
๑๑. โทสะเป็นเหตุให้เกิดความเดือดร้อนในชาติหน้า ตรงกับข้อใด ?
ก. ตนเองเดือดร้อน ข. โลกเร่าร้อน
ค. ขาดสันติภาพ ง. เกิดในอบาย
คำตอบ : ง
๑๒. บุคคลมีจิตถูกโมหะครอบงำ ย่อมมีพฤติกรรมเช่นไร ?
ก. เห็นแก่ได้ ข. ลักขโมย
ค. เชื่องมงาย ง. ก่อวิวาท
คำตอบ : ค
๑๓. การบำเพ็ญทาน ศีล ภาวนา
ช่วยบรรเทาอะไรให้เบาบางลง ?
ก. โลภะ ข. โทสะ
ค. โมหะ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๑๔. บุคคลมีจิตประกอบด้วยเมตตา พูดว่า ขอเหล่าสัตว์ จงเป็นสุข
จัดเป็นมโนกรรม เกิดขึ้นทางทวารใด ?
ก. กายทวาร ข. วจีทวาร
ค. มโนทวาร ง. ทุกทวาร
คำตอบ : ข
๑๕. เมื่อโทสะเกิดขึ้น หากระงับไม่ได้ จะทำให้คนเราทำความผิดใด ?
ก. ทำร้ายกัน ข. ลักขโมยกัน
ค. นอกใจกัน ง. เชื่อในสิ่งผิด
คำตอบ : ก
๑๖. ความพลัดพรากจากของที่ชอบ เป็นผลของอกุศลกรรมบถใด ?
ก. ปาณาติบาต ข. อทินนาทาน
ค. กาเมสุมิจฉาจาร ง. สัมผัปปลาป
คำตอบ : ข
๑๗. โหดร้าย มือไว ใจมากรัก ตรงกับอกุศลกรรมบถหมวดใด ?
ก. กายกรรม ข. วจีกรรม
ค. มโนกรรม ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ก
๑๘. การประพฤติผิดในกาม ย่อมเป็นไปเพื่อเพิ่มอกุศลธรรมใด ?
ก. ราคะ ข. โทสะ
ค. โมหะ ง. มานะ
คำตอบ : ก
๑๙. การแสดงธรรมว่าเป็นอธรรม ชื่อว่าประพฤติอกุศลกรรมบถใด ?
ก. อภิชฌา ข. มุสาวาท
ค. สัมผัปปลาป ง. มิจฉาทิฏฐิ
คำตอบ : ข
๒๐. การพูดเพื่อหักประโยชน์ผู้อื่น แต่ตนได้ประโยชน์ ตรงกับข้อใด ?
ก. อภิชฌา ข. อนภิชฌา
ค. มุสาวาท ง. ผรุสวาจา
คำตอบ : ค
๒๑. การพูดยุแหย่เพื่อให้แตกความสามัคคีในหมู่คณะ ตรงกับข้อใด ?
ก. ปิสุณวาจา ข. ผรุสวาจา
ค. มิจฉาทิฏฐิ ง. พยาบาท
คำตอบ : ก
๒๒. คนนี้พูดหาสาระมิได้ ผู้กล่าวหมายเอาวจีทุจริตข้อใด ?
ก. ปิสุณวาจา ข. มุสาวาท
ค. สัมผัปปลาป ง. ผรุสวาจา
คำตอบ : ค
๒๓. ข้อใด ผู้ให้การเป็นพยานในศาลควรเว้น ไม่ควรกระทำ ?
ก. รู้บอกว่ารู้ ข. ไม่รู้บอกว่าไม่รู้
ค. รู้บอกว่าไม่รู้ ง. เห็นบอกว่าเห็น
คำตอบ : ค
๒๔. คำพูดใด เป็นสาเหตุให้พระเจ้าวิฑูฑภะต้องฆ่าพวกเจ้าศากยะ ?
ก. ปิสุณวาจา ข. มุสาวาท
ค. สัมผัปปลาป ง. ผรุสวาจา
คำตอบ : ง
๒๕. ข้อใด จัดเป็นมโนกรรมฝ่ายอกุศล ?
ก. อยากได้ของเขา ข. ประทุษร้ายเขา
ค. หลอกลวงเขา ง. ผิดลูกเมียเขา
คำตอบ : ก
๒๖. ข้อใด จัดเป็นมโนกรรมฝ่ายกุศล ?
ก. อยากฆ่าคน ข. อยากโกหก
ค. อยากทำบุญ ง. อยากฉ้อฉล
คำตอบ : ค
๒๗. คนเราสามารถกระทำความดีทางใจได้อย่างไร ?
ก. ไม่โลภอยากได้ของเขา ข. ไม่พยาบาทปองร้ายเขา
ค. ไม่เห็นผิดคลองธรรม ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ง
๒๘. พระพุทธศาสนาสอนเกี่ยวกับความเห็นไว้อย่างไร ?
ก. เห็นว่าโลกเที่ยง ข. เห็นว่าตายแล้วสูญ
ค. เห็นว่ากรรมลิขิต ง. เห็นว่าพรหมลิขิต
คำตอบ : ค
๒๙. ความโลภอยากได้ของบุคคลเกิดขึ้นในขณะใด จัดเป็นอภิชฌา ?
ก. กำลังเห็น ข. เห็นแล้ว
ค. ยังไม่เห็น ง. ทุกขณะ
คำตอบ : ก
๓๐. สิ่งที่จิตเข้าไปยึดติดแล้วเป็นเหตุให้เกิดอภิชฌา ตรงกับข้อใด ?
ก. ลาภ ยศ ข. เสื่อมลาภ
ค. เสื่อมยศ ง. ถูกนินทา
คำตอบ : ก
๓๑. อภิชฌา เป็นมูลเหตุให้บุคคลประพฤติผิดเรื่องใด ?
ก. ฆ่าสัตว์ ข. ลักทรัพย์
ค. เห็นผิด ง. ปองร้าย
คำตอบ : ข
๓๒. บุคคลมีจิตใจปราศจากอภิชฌา ย่อมมีลักษณะเช่นไร ?
ก. ไม่โลภ ข. ไม่โกรธ
ค. ไม่หลง ง. ไม่ถือตัว
คำตอบ : ก
๓๓. อกุศลกรรมบถใด เกิดขึ้นด้วยอำนาจของความโกรธ ?
ก. มุสาวาท ข. อภิชฌา
ค. พยาบาท ง. มิจฉาทิฏฐิ
คำตอบ : ค
๓๔. ฝากไว้ก่อนเถอะ เดี๋ยวค่อยเห็นดีกัน พูดด้วยอารมณ์เช่นไร ?
ก. แค้นใจ ข. เสียใจ
ค. น้อยใจ ง. เศร้าใจ
คำตอบ : ก
๓๕. คุณธรรมใด มีคุณูปการช่วยให้คนเราปราศจากความพยาบาท ?
ก. เมตตา ข. กรุณา
ค. มุทิตา ง. อุเบกขา
คำตอบ : ก
๓๖. อพยาบาท การไม่คิดร้ายทำลายกัน จะเกิดขึ้นได้อย่างไร ?
ก. ถือพวก ข. ถือเพื่อน
ค. ถือสถาบัน ง. ถือธรรม
คำตอบ : ง
๓๗. เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร ตรงกับข้อใด ?
ก. อพรหมจรรย์ ข. อนภิชฌา
ค. สัมมาทิฏฐิ ง. อพยาบาท
คำตอบ : ง
๓๘. อะไรเป็นเหตุให้คนเราไม่เชื่อบุญไม่เชื่อบาป ?
ก. มิจฉาสติ ข. มิจฉาทิฏฐิ
ค. มิจฉาสมาธิ ง. มิจฉาวาจา
คำตอบ : ข
๓๙. อกุศลกรรมบถใด ให้ผลหนักและรุนแรงกว่ากรรมอื่น ?
ก. ปาณาติบาต ข. มุสาวาท
ค. มิจฉาทิฏฐิ ง. พยาบาท
คำตอบ : ค
๔๐. ทำดีได้ดีมีที่ไหน ? ผู้พูดมีความคิดเห็นเช่นใด ?
ก. ไม่เชื่อผลกรรม ข. ไม่ปฏิเสธกรรม
ค. ไม่คัดค้านกรรม ง. ไม่ทำบาปกรรม
คำตอบ : ก
๔๑. เห็นกงจักรเป็นดอกบัว มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก. อภิชฌา ข. พยาบาท
ค. มิจฉาทิฏฐิ ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ค
๔๒. ความเห็นในทุกข์ สมุทัย นิโรธ
มรรค ตรงกับข้อใด ?
ก. สัมมาสติ ข. สัมมาสังกัปปะ
ค. สัมมาทิฏฐิ ง. สัมมาวายามะ
คำตอบ : ค
๔๓. การกระทำใด ไม่เกี่ยวข้องกับการประพฤติกุศลกรรมบถ ?
ก. ให้ทาน ข. สะเดาะเคราะห์
ค. รักษาศีล ง. เจริญกรรมฐาน
คำตอบ : ข
๔๔. คนมีอุปนิสัยชอบแบ่งปัน เสียสละ คอยให้ความช่วยเหลือผู้อื่น ด้วย
จิตใจดีงาม ตรงกับข้อใด ?
ก. ทานูปนิสัย ข. สีลูปนิสัย
ค. ภาวนูปนิสัย ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ก
๔๕. เขามีอุปนิสัยเรียบร้อยมาตั้งแต่เด็กๆ แล้ว ตรงกับข้อใด ?
ก. ทานูปนิสัย ข. สีลูปนิสัย
ค. ภาวนูปนิสัย ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ข
๔๖. ผลของการกระทำความดี ความชั่ว ตรงกับข้อใด ?
ก. กิเลส ข. กรรม
ค. วิบาก ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ค
๔๗. คำว่า เจ้ากรรมนายเวร ที่คนนิยมพูดกัน หมายถึงอะไร ?
ก. กรรมบถ ข. ผลกรรมดี
ค. กรรมเวร ง. ผลกรรมชั่ว
คำตอบ : ง
๔๘. การได้เกิดในตระกูลพราหมณ์มหาศาล จัดเป็นสมบัติใด ?
ก. มนุษยสมบัติ ข. สวรรคสมบัติ
ค. ทรัพยสมบัติ ง. นิพพานสมบัติ
คำตอบ : ก
๔๙. เพราะเหตุไร สัตว์โลกจึงต้องเป็นไปตามกรรม ?
ก. เพราะเป็นอนิจจัง ข. เพราะทุกคนมีทุกข์
ค. เพราะขัดขืนไม่ได้ ง. เพราะต้องเกิดอีก
คำตอบ : ค
๕๐. กุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ
สงเคราะห์เข้าในสิกขาข้อใด ?
ก. ศีล ข. สมาธิ
ค. ปัญญา ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ : ก
*** ***
***
เฉลยวิชากรรมบถ (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์
ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
๑. |
ง |
๑๑. |
ง |
๒๑. |
ก |
๓๑. |
ข |
๔๑. |
ค |
๒. |
ค |
๑๒. |
ค |
๒๒. |
ค |
๓๒. |
ก |
๔๒. |
ค |
๓. |
ง |
๑๓. |
ง |
๒๓. |
ค |
๓๓. |
ค |
๔๓. |
ข |
๔. |
ก |
๑๔. |
ข |
๒๔. |
ง |
๓๔. |
ก |
๔๔. |
ก |
๕. |
ค |
๑๕. |
ก |
๒๕. |
ก |
๓๕. |
ก |
๔๕. |
ข |
๖. |
ก |
๑๖. |
ข |
๒๖. |
ค |
๓๖. |
ง |
๔๖. |
ค |
๗. |
ง |
๑๗. |
ก |
๒๗. |
ง |
๓๗. |
ง |
๔๗. |
ง |
๘. |
ข |
๑๘. |
ก |
๒๘. |
ค |
๓๘. |
ข |
๔๘. |
ก |
๙. |
ก |
๑๙. |
ข |
๒๙. |
ก |
๓๙. |
ค |
๔๙. |
ค |
๑๐. |
ข |
๒๐. |
ค |
๓๐. |
ก |
๔๐. |
ก |
๕๐. |
ก |